Page 7 - วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์
P. 7
กำรแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์
ี่
์
ั้
์
ึ่
์
การแปลงสินทรัพยเป็นหลักทรัพยเป็นขนตอนหนงของการเงินแปลงรูป ซึ่งสินทรัพยหรือตราสารทางการเงินอื่น ๆ ทได ้
รับมาจะถูกแยกออกเป็นกอง และน าเสนอเป็นหลักทรัพย์ค้ าประกันในการลงทุนแก่บุคคลที่สาม การแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย ์
เมื่อผนวกกับความต้องการลงทุนในตราสารหนที่มีหลักทรัพย์จ านองค้ าประกัน (หรือ mortgage-backed security, MBS) และแนวโนมที่
้
ี้
บริษัทจัดอันดับยอมรับ MBS ว่าอยู่ในระดับที่เหมาะสมกับการลงทุน ก็ท าให้สินเชื่อความเสี่ยงสูงสามารถถูกแปลงรูป และความเสี่ยง
ิ
ั้
ู
ั
ู่
ั้
ที่มีอยนนก็ถกส่งผ่านออกไปยังนกลงทุน ตามโมเดลสินเชื่อแบบดงเดมนน ธนาคารจะเป็นผู้ออกสินเชื่อให้แก่ผู้กู้ยืม (เจ้าของบ้าน)
ั้
ิ
ั
และเป็นผู้แบกรับความเสี่ยงของเงินกู้ (การผิดนดช าระเงิน) แตเมื่อเริ่มใช้การแปลงสินทรัพยเป็นหลักทรัพย โมเดลแบบเดมก็
์
์
่
กลายเป็นโมเดล "ปล่อยกู้เพื่อกระจายออก" ซึ่งความเสี่ยงของเงินกู้ถูกส่งต่อ (กระจาย) ไปยังนักลงทุน สัดส่วนของสินเชื่อชั้นรองที่
ิ่
ึ้
ถกแปลงเป็นหลักทรัพยนนเพมขนจากร้อยละ 54 ในปี 2544 เป็นร้อยละ 75 ในปี 2549 อลัน กรีนสแปนกล่าววาสิ่งที่ท าให้เกิด
ู
่
ั้
์
่
ั้
วิกฤติเครดิตทั่วโลกนนไม่ใช่สินเชื่อเพอที่อยู่อาศัยของผู้กู้ความเสี่ยงสูง แต่เป็นการแปลงสินเชื่อเหล่านนให้เป็นหลักทรัพย์ตางหาก
ั้
ื่
หลายคนเชื่อว่าการที่มาตรฐานการปล่อยกู้หละหลวมขนนนเป็นเพราะปัญหาภาวะภัยทางศีลธรรม ซึ่งทุกส่วนในแต่ละขนตอนของ
ั้
ึ้
ั้
การปล่อยสินเชื่อนั้นเก็บเกี่ยวก าไรโดยเชื่อว่าตนส่งผ่านความเสี่ยงไปยังบุคคลอื่น