Page 8 - วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์
P. 8
กำรจัดอันดับควำมน่ำเชื่อถือที่ไม่ตรงกับควำมเป็นจริง
ื
่
ุ้
์
การจัดอันดบความนาเชื่อถอที่สูงเกินความเป็นจริงกระตนให้การลงทุนในหลักทรัพยที่มีสินเชื่อชั้นรองเป็นหลักประกัน
ั
ั
ั
ึ้
ิ่
ึ้
ิ่
ั
้
เพมขน และเป็นการส่งเสริมทางการเงินให้ตลาดบ้านขยายตว การจัดอันดบที่สูงขนไดรับการยอมรับเพราะมีการเพมระดบความ
ี
น่าเชื่อถือด้วยวิธต่าง ๆ เช่น การวางหลักทรัพย์ค้ าประกันสูงกว่าเงินกู้ และการประกันการผิดนัดช าระหนี้ นักวิจารณ์กล่าวว่าความ
้
์
้
ั
ั
ั้
้
ั
ขดแยงของผลประโยชนมีส่วนเกี่ยวของการจัดอันดบที่ผิดพลาด เพราะบริษัทจัดอันดบไดรับเงินจากบริษัทที่จัดตงและขาย
หลักทรัพย์แก่นักลงทุน เช่นวาณิชธนกิจ ในวันที่ 11 มิถุนายน 2551 ส านักงานคณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย ์
ื่
ั
แห่งสหรัฐอเมริกาไดเสนอกฎเพอแก้ไขปัญหาความขดแยงของผลประโยชนที่เห็นไดชัดระหวางบริษัทจัดอันดบและผู้ออก
้
ั
่
้
์
้
์
ึ
หลักทรัพยแปรรูป อันดบลดอันดบเครดตของ MBS มูลค่า 1.9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐในระหวางไตรมาสที่ 3 ของปี 2550 จนถง
ิ
ั
ั
่
ไตรมาสที่ 2 ปี 2551 ซึ่งส่งผลท าให้สถาบันทางการเงินตองลดมูลค่า MBS ลงไปอีก สถาบันเหล่านจึงตองหาเงินทุนเพมเพอรักษา
ื่
ิ่
้
้
ี้
อัตราทุน และหากเพิ่มทุนด้วยวิธีออกหุ้นใหม่ก็จะท าให้ราคาหุ้นปัจจุบันลดลง หรือสรุปได้ว่าการลดอันดับความน่าเชื่อถือท าให้ MBS
และราคาหุ้นลดลง
นโยบำยรัฐบำล
นักวิจารณ์หลายคนให้ความเห็นว่าโครงสร้างกฎหมายในปัจจุบันนนล้าสมัย ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู บุชกล่าวเมื่อ
ั้
เดือนกันยายน 2551 ว่า "เมื่อวิกฤติครั้งนี้ได้รับการแก้ไขแล้ว ก็ถงเวลาที่จะต้องปรับปรุงโครงสร้างกฎหมายทางการเงินให้ทันสมัย
ึ
ขึ้น เศรษฐกิจในโลกยุคคริสต์ศตวรรษที่ 21 ยังคงถูกควบคุมโดยกฎหมายยุคศตวรรษที่ 20 ที่ล้าสมัย เมื่อไม่นานนี้เราก็ได้เห็นการที่
บริษัทขยายตัวขนาดใหญ่มากจนความล้มเหลวของมันท าให้ระบบการเงินทั้งระบบเป็นอันตรายได ส านักงานคณะกรรมการก ากับ
้
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งสหรัฐอเมริกายอมรับว่าการควบคุมตนเองของของวาณิชธนกิจมีส่วนท าให้เกิดวิกฤติครั้งนี้ขึ้น