Page 3 - วิกฤติสินเชื่อซับไพรม์
P. 3
สำเหต ุ
ี้
ุ
ิ
ิ
ึ้
์
ั
ั
วกฤตครั้งนมีสาเหตที่ซับซ้อนและมาจากหลายปัจจัยซึ่งค่อยๆ พฒนาตวขนในตลาดอสังหาริมทรัพยและสินเชื่อ เช่น
การที่เจ้าของบ้านไม่สามารถช าระเงินที่กู้ยืมมา การตัดสินใจที่ผิดพลาดของผู้กู้ยืมหรือผู้ปล่อยกู้ การเก็งก าไรและการสร้างบ้านมาก
ั
ี้
เกินไปในช่วงที่ตลาดเตบโตอยางรวดเร็ว สินค้าทางสินเชื่อที่มีความเสี่ยงสูง อัตราหนสินของบุคคลและบริษัทที่สูง นวตกรรม
่
ิ
ั
ี้
ทางการเงินที่กระจาย (ในขณะที่อาจจะปกปิด) ความเสี่ยงจากการผิดนดช าระหน นโยบายและการควบคุม (หรือการขาดการ
ควบคุม) ของธนาคารกลาง
กำรขยำยตัวของตลำดที่อยู่อำศัยและภำวะฟองสบู่แตก
่
้
่
ผลจากทั้งอัตราดอกเบี้ยที่ตาและเงินทุนที่หลั่งไหลเขามาจากตางประเทศก่อให้เกิดกองทุนที่สามารถปล่อยกู้มากมาย
และท าให้สามารถขออนุมัติสินเชื่อได้ง่ายเป็นเวลาหลายปีก่อนจะเกดวิกฤติ สินเชื่อชั้นรองเป็นสาเหตุที่ส าคัญอย่างหนึ่งที่ท าให้อัตรา
ิ
ู่
กรรมสิทธิ์และความต้องการที่อยู่อาศัยเพิ่มขน อัตรากรรมสิทธิ์ในที่อยอาศัยทั่วทั้งสหรัฐเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 64 ในปี 2537 (ซึ่งเป็น
ึ้
ี
ิ่
ึ้
ี้
ระดบที่คงตวมาตงแต่ 2523) เป็นร้อยละ 69.2 ซึ่งเป็นอัตราสูงที่สุดในปี 2547 อุปสงค์ที่เพมขนนท าให้ราคาบ้านถบตวสูงขนและ
ั้
ั
ึ้
ั
ั
ท าให้ผู้บริโภคใช้จ่ายมากขึ้น ระหว่างปี 2540 และปี 2549 ราคาบ้านในสหรัฐเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 12.4 เจ้าของบ้านหลายคนใช้ราคา
สินทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นในช่วงภาวะฟองสบู่นเพื่อปรับโครงสร้างเงินกู้ด้วยอัตราดอกเบี้ยที่ตาลงและกู้สินเชื่อเพิ่มจากการจ านองเคหะเดม
ี้
่
ิ
้
ิ่
ในส่วนที่ราคาสูงขึ้นเพื่อใช้บริโภค อัตราหนี้ครัวเรือนต่อรายไดในสหรัฐเพมขนเป็นร้อยละ 130 ในปี 2550 ซึ่งมากกว่าร้อยละ 100
ึ้
้
ั
ในช่วงตนทศวรรษ ในที่สุด การสร้างบ้านมากเกินไปในช่วงตลาดขยายตวก็ท าให้เกิดอุปทานส่วนเกิน และท าให้ราคาบ้านตกลง