Page 45 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 45
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
ภาพที่ 2.1-1 แสดงแบบจ าลองของคริสตัลเลอร์
(ที่มา: http://geo2gis.com/images/pdf_data/ 7central.pdf.)
คุณลักษณะของโครงสร้างของแหล่งกลาง
- จ านวนการให้บริการ/ประเภทสินค้าขึ้นกับล าดับศักย์ของแหล่งกลาง
- ขนาดแหล่งกลางจ าแนกตามความแตกต่างโดยจ านวนประชากรต่อประเภทของบทบาท
หน้าที่แหล่งกลาง
- แหล่งกลางอันดับสูงสุดให้บริการในพื้นที่กว้างสุด สินค้าและบริการประเภทสูงสุด
ให้บริการดินแดนเบื้องหลังด้วยสินค้าและบริการขั้นต่ าด้วย
- แหล่งกลางอันดับรองลงไปให้บริการสินค้าและบริการน้อยลงไป ประชาชนจากแหล่ง
กลางอันดับรองจ าเป็นต้องซื้อสินค้าและบริการจากแหล่งกลางอันดับสูงขึ้นไป
จากแนวคิดทฤษฎีแหล่งกลางของ Walter Christraller (1933) นี้ ท าให้สามารถสรุปถึงปัจจัยที่
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมของประเทศไทยได้ว่า นอกจากจะพิจารณาถึง
รูปแบบประเภทอุตสาหกรรมแล้ว ควรจะต้องพิจารณาถึงปัจจัยด้านล าดับศักย์ ระยะทางและการเข้าถึงได้ รวมถึง
ปริมาณสินค้าและบริการของอุตสาหกรรมนั้นๆ ด้วย
2.1.2 ทฤษฎีท าเลที่ตั้งอุตสาหกรรม (Industrial location theory)
Alfred Weber (1909) ได้น าเอาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับแหล่งที่ตั้งเข้ามาพิจารณาท าเลที่ตั้งที่เหมาะสม
ของอุตสาหกรรม ภายใต้สมมติฐานที่ ใช้ในการวิเคราะห์แหล่งที่ตั้ง คือ แหล่งที่ตั้งที่อุตสาหกรรมแต่ละประเภทต่าง
ก็แสวงหาท าเลที่ตั้งที่ท าให้ตนได้รับต้นทุนการผลิตที่ต่ าที่สุด โดยก าหนดให้ท าเลที่ตั้งแต่ละแห่งอาจมีคุณสมบัติ
แตกต่างกัน เช่น วัตถุดิบรวมทั้งเชื้อเพลิงต่างๆ กระจายตัวไม่เท่ากันและมีคุณสมบัติต่างกัน วัตถุดิบบางชนิดมี
เฉพาะท้องถิ่น (Localized Raw Materials) บางชนิดกระจายอยู่ทั่วไป (Ubiquitous Raw Materials)ตลอดจน
ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หน้า 2 - 2