Page 48 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 48
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
3.2) กระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ (Production Process and Product)
- ระบบการผลิตและผลิตภัณฑ์
3.3) ขาออก หมายถึง การควบคุมมลพิษ (Output-Pollution Control)
- มลภาวะทางน้ า
- มลภาวะทางอากาศ
- กากของเสีย
- มลภาวะทางเสียง กลิ่น ฝุ่น ควัน เหตุเดือนร้อนร าคาญ
3.4) ความปลอดภัยและสุขภาพ (Safety and Health)
- ความปลอดภัยและสุขภาพ
3.5) การพึ่งพาเกื้อกูลซึ่งกันและกันของอุตสาหกรรม (Industrial Symbiosis)
- การพึ่งพาเกื้อกูลซึ่งกันและกันของอุตสาหกรรม
4) มิติด้านสังคม 2 ด้าน ดังนี้
- คุณภาพชีวิตและสังคมของพนักงาน
- คุณภาพชีวิตและสังคมของชุมชนโดยรอบ
5) มิติการบริหารจัดการ 5 ด้าน ดังนี้
- การบริหารจัดการพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม
- การยกระดับการก ากับดูแลโรงงาน
- ส่งเสริมให้โรงงานเข้าสู่ระบบบริหารจัดการระดับสากลและระดับประเทศ
- การรณรงค์ส่งเสริมให้โรงงานประยุกต์ใช้นวัตกรรม/เครื่องมือการจัดการ/
ระบบบริหารจัดการใหม่ๆ
- การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารและการจัดท ารายงาน
2.1.4 แนวคิดการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย
การพัฒนาอุตสาหกรรมไทยมีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา โดยเน้นที่การผลิตสินค้าหัตถกรรมและ
การแปรรูปสินค้าการเกษตรอย่างง่ายๆ ตามด้วยการตั้ง โรงสีข้าว โรงเลื่อย โรงน้ าตาล และขยับเข้าสู่โรงงาน
อุตสาหกรรมอย่างเต็มรูปแบบในอุตสาหกรรมโรงปูนซีเมนต์ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยพยายามพัฒนา
อุตสาหกรรมหลายรูปแบบ โดยจัดตั้งรัฐวิสาหกิจเพื่อรองรับการพัฒนาดังกล่าว อาทิเช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอ
อุตสาหกรรมน้ าตาล อุตสาหกรรมกระดาษ เป็นต้น แต่การพัฒนาในรูปแบบรัฐวิสาหกิจในยุคแรกนี้ไม่ประสบ
ความส าเร็จมากนัก อีกทั้งยังท าให้ภาคเอกชนไม่กล้าลงทุน ท าให้การพัฒนาอุตสาหกรรมเป็นไปอย่างช้าๆ ต่อมาใน
ปี พ.ศ. 2500 ธนาคารโลกได้แนะน าให้รัฐบาลไทยปรับเปลี่ยนแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยให้รัฐบาลหัน
กลับมาลงทุนในด้านสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า การคมนาคมขนส่ง เป็นต้น และส่งเสริมให้ภาคเอกชนลงทุนใน
ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หน้า 2 - 5