Page 52 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 52

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม


                                        1) การตอบสนองต่อนโยบายส าคัญของประเทศ การคัดเลือกอุตสาหกรรมเป้าหมายใน

                  แต่ละพื้นที่นั้นจะต้องค านึงถึงความสอดคล้องและสนับสนุนต่อนโยบายและยุทธศาสตร์ที่ส าคัญต่อการพัฒนา
                  ประเทศทั้งในระดับประเทศ ระดับหน่วยงาน และระดับพื้นที่ ตลอดจนกฎหมายและกฎระเบียบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

                  และการใช้ประโยชน์จากกรอบความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการสร้างโอกาสในการพัฒนาร่วมกันของ
                  ภาคอุตสาหกรรม

                                        2) การสร้างผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ การคัดเลือกอุตสาหกรรมเป้าหมายจะต้องเป็น
                  อุตสาหกรรมที่สามารถสร้างผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจให้แก่ประเทศ ทั้งในด้านการสร้างผลก าไรและผลตอบแทน

                  จากการลงทุนสูง การสร้างมูลค่าการส่งออกที่อยู่ในระดับสูง ตลอดจนน าไปสู่การสร้างอัตราการเติบโตของ

                  ภาคอุตสาหกรรมของประเทศ
                                        3) การสร้างผลประโยชน์เชิงสิ่งแวดล้อม ในการก าหนดอุตสาหกรรมเป้าหมายเพื่อ

                  น าไปสู่การพัฒนาต่อไปในอนาคต นอกจากการให้ความส าคัญในเชิงเศรษฐกิจแล้วนั้น การพิจารณาให้ความส าคัญ

                  ที่สร้างความสมดุลในเชิงสิ่งแวดล้อมก็มีส่วนส าคัญ ดังนั้น ในการก าหนดอุตสาหกรรมเป้าหมายจ าเป็นจะต้อง
                  พิจารณาว่าอุตสาหกรรมนั้นๆ มีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการเชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทาน

                  และการรวมกลุ่มคลัสเตอร์ของอุตสาหกรรม เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม

                                        4) การสร้างประโยชน์เชิงสังคม การก าหนดอุตสาหกรรมเป้าหมายนั้นจะต้องมีความ
                  ตอบสนองและสนับสนุนการเจริญเติบโตของภาคสังคม เช่น อุตสาหกรรมนั้นจะต้องเอื้อต่อการใช้วัตถุดิบ และ

                  กระบวนการผลิตส่วนใหญ่อยู่ภายในประเทศ ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดการสร้างงานและกระจายรายได้ในภูมิภาคของ
                  ประเทศไทย

                                        5) สร้างผลประโยชน์เชิงทุนมนุษย์ อุตสาหกรรมเป้าหมายต้องสนับสนุนการใช้ศักยภาพ

                  ของทุนมนุษย์ ภูมิปัญญาเพื่อน าไปสู่การคิดค้นนวัตกรรม (Innovation) สู่กระบวนการผลิต เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม
                  (Value Creation) ให้แก่สินค้าอุตสาหกรรม

                                        6) การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน์ การคัดเลือกอุตสาหกรรม
                  เป้าหมายต้องค านึงถึงการได้รับผลกระทบในเชิงบวกที่มีมากกว่าเชิงลบเพื่อสร้างโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจและ

                  อุตสาหกรรมกับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้กรอบความร่วมมือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เป็นต้น


                  2.2 การทบทวนนโยบายยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาโครงการฯ

                         2.2.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12

                                แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 กล่าวคือ หลักการพัฒนาประเทศที่ส าคัญใน
                  ระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” “การพัฒนาที่ยั่งยืน” และ “คนเป็น

                  ศูนย์กลางการพัฒนา” ที่ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙-๑๑ และยึดหลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลด

                  ความเหลื่อมล้ า และขับเคลื่อนการเจริญเติบโตจากการเพิ่มผลิตภาพการผลิตบนฐานการใช้ภูมิปัญญา และ



                  ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์                             หน้า 2 -  9
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57