Page 132 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 132

่
             การอนุรักษ์อย่างบูรณาการด้วยความร่วมมือของท้องถิน




                    ร่องรอยหลักฐานภูมิลักษณ์วัฒนธรรม

             ตลอดจนแหล่งโบราณสถาน โบราณวัตถุ เป็นมรดก  เขวาตะคลอง
                                                       อ�ำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด
             ทางวัฒนธรรมสร้างความภูมิใจและความส�านึก
             ในการเป็นเจ้าของให้กับท้องถิ่น และเป็นทรัพยากร
             ทางสังคมที่มีความส�าคัญต่อการพัฒนาส�าหรับ
             ท้องถิ่นนั้นๆ  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ทั้ง
             องค์การบริหารส่วนจังหวัด  และองค์การบริหาร
             ส่วนต�าบลหลายแห่งให้ความส�าคัญและความ

             ร่วมมือในการอนุรักษ์ความเป็นประวัติศาสตร์ให้
             คงไว้ส�าหรับท้องถิ่นนั้น หลายแห่งได้มีการบ�ารุงรักษา
             ให้คงสภาพและใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่องมาแต่
             อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะภูมิลักษณ์วัฒนธรรม
             ที่เกี่ยวกับแหล่งน�้า  ท�าให้ยังคงสภาพเห็นเป็น
             ตัวอย่างได้ทั่วทั้งประเทศ หลายแห่งอาจถูกท�าลาย
             หรือถูกเปลี่ยนแปลงไปเหลืออยู่ตามสภาพที่เห็น
             แต่ยังมีอีกหลายแห่งที่ถึงแม้ว่าจะถูกทิ้งร้างไม่มี
             การใช้ประโยชน์มายาวนาน  แต่ตามหลักฐาน

             ที่พบในรูปถ่ายทางอากาศแสดงให้เห็นถึงความ
             เพียรพยายามของท้องถิ่นในการส�ารวจศึกษา
             ให้เข้าใจในสภาพและความเป็นมาทางประวัติศาสตร์
             และน�ามาใช้ประโยชน์รักษาไว้เพื่อให้เป็นศูนย์
             รวมจิตใจและความภาคภูมิใจของท้องถิ่น  ดังเช่น
             เมืองโบราณที่บ้านเขวาตะคลอง เป็นต้น
                    เมืองโบราณที่บ้านเขวาตะคลอง  ภายใต้

             การบริหารขององค์การบริหารส่วนต�าบลทุ่งทอง
             อ�าเภอเกษตรวิสัย  จังหวัดร้อยเอ็ด  การตั้งถิ่นฐาน
             อยู่บนภูมิลักษณ์ “เนินโดมเกลือ” ในพื้นที่โครงการ
             พัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ มีสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบ
             ลุ่มกว้างขวางต่อเนื่องกับที่ราบน�้าท่วมถึงแม่น�้ามูล
             รองรับด้วยหินตะกอนสลับด้วยหินเกลือเป็น
             ชั้นหนารองรับในระดับตื้น  ซึ่งมีผลต่อปัญหาการ
             ท่วมขังของน�้าท่วมในฤดูน�้าหลากและการเกิดเกลือ
             ในฤดูแล้ง ในบริเวณเมืองพบโบราณวัตถุที่เป็นภาชนะ

             ดินเผา  และหม้อบรรจุกระดูก  กระจายอยู่ทั่วเนิน
             ลักษณะเช่นเดียวกับชุมชนโบราณอื่น ๆ ในทุ่งกุลาร้องไห้
             ที่มีการตั้งถิ่นฐานในสมัยก่อนประวัติศาสตร์
             หลักฐานก�าแพงเมือง-คูเมืองและถนนตารางหมากรุก
             ศึกษาจากรูปถ่ายทางอากาศแสดงถึงภูมิปัญญา
             การตั้งถิ่นฐานที่ปรากฏให้เห็นเป็นขั้นตอนเช่น    หมากรุกบนเนินเมือง  แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาการตั้งถิ่นฐานเมืองโบราณ  เขวาตะคลองที่มีมาตลอด
             การเลือกสถานที่ตั้งเป็นเนินโดมเกลือ การขุดคู-คันดิน  ระยะเวลาที่ยาวนาน

             ล้อมรอบตีนเนิน การสร้างก�าแพงเมือง-คูเมืองรูปวงรี        การอนุรักษ์จ�าเป็นต้องอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วน  โดยเฉพาะท้องถิ่นต้องรับรู้และ
             การแก้ไขดัดแปลงแนวคันดินด้านทิศตะวันตกเป็น   ส�านึกในความส�าคัญของมรดกวัฒนธรรมอันมีค่าส�าหรับท้องถิ่นของตน ตลอดถึงการยอมรับและเคารพ
             เส้นตรง การแก้ไขปัญหารักษาสภาพเมือง ภายหลัง  ในภูมิปัญญาในอดีต ที่ปรากฏเป็นหลักฐานด้วยภูมิลักษณ์วัฒนธรรมที่ต้องอาศัยความรู้และความร่วมมือ
             ถูกล�าพลับพลากัดเซาะ รวมถึงการสร้างถนนตาราง   จากนักวิชาการ และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง






           118 118  l
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137