Page 143 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 143

 “ภูมิลักษณ์วัฒนธรรม”
                                  ่
                  มรดกทีจารึกไว้บนแผ่นดิน




               ภูมิประเทศ-ภูมิอากาศ                                           ผืนแผ่นดิน...มรดกถึงลูกหลานไทย


               ภูมิประเทศ

                      บริเวณที่ราบชายฝั่งทะเล มีลักษณะเป็นที่ราบแคบ ๆ และเป็นแนวยาวคู่ขนานกับทิวเขา
               ไปตามแนวชายฝั่งทะเลบนสองฝั่งคาบสมุทรทั้งทะเลอ่าวไทยทางตะวันออก และทะเลอันดามัน
               ทางตะวันตก คลุมพื้นที่ต่อจากที่ราบภาคกลางตลอดไปจนสุดเขตภาคใต้ของประเทศไทย แบ่งออก
               เป็นสองส่วนโดยมีต�าแหน่งคอคอดกระเป็นเกณฑ์ ได้แก่ บริเวณตอนเหนือเริ่มต้นจากคอคอดกระ
               จนถึงเขตลุ่มน�้าแม่กลองเป็นส่วนที่มีเทือกเขาตะนาวศรีปิดกั้นและเป็นเขตแดนไทย-เมียนมา และ
               บริเวณตอนใต้ของคอคอดกระลงไปจนจรดเขตแดนไทย-มาเลเซีย
                      บริเวณที่ราบเจ้าพระยาหรือที่ราบภาคกลาง เริ่มต้นจากบริเวณที่ราบลุ่มปากแม่น�้าเจ้าพระยา
               แนวชายฝั่งทะเลอ่าวไทย ยาวลึกเข้าไปในแผ่นดินจรดเขตพื้นที่ภูเขาทางตอนเหนือ ตลอดแนวสองฝั่ง
               ที่ราบเจ้าพระยาขนาบด้วยพื้นที่ภูเขา ได้แก่ เทือกเขาตะนาวศรีและเทือกเขาถนนธงชัยทางตะวันตก
               เทือกเขาเพชรบูรณ์ และเทือกเขาพังเหยซึ่งยกตัวสูงเป็นขอบเขตที่ราบสูงโคราชทางทิศตะวันออก
               รวมถึงที่ราบลุ่มน�้าป่าสัก  ซึ่งแยกตัวออกยาวตามแนวเหนือ-ใต้ติดขอบที่ราบสูงโคราช  เกิดเป็น
               แอ่งที่ราบทรุดตัวในหุบเขา  (แบบกราเบน)  ขนาบสองข้างด้วยเทือกเขาเพชรบูรณ์ตะวันตก
               และเทือกเขาเพชรบูรณ์ทางตะวันออก
                      ที่ราบตอนเหนือของประเทศมีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาและหุบเขา ส่วนของที่ราบมีภูเขา
               ล้อมรอบแยกตัวออกจากกันเป็นแห่ง ๆ มีทางน�้าไหลผ่านต่อเชื่อมถึงกันตลอดลุ่มน�้า และระบายน�้า
               ออกสู่ทางน�้าหลัก ได้แก่ แม่น�้าเจ้าพระยา รับน�้าจากปิง วัง ยม น่าน ที่ไหลผ่านที่ราบภาคกลางลงสู่
               อ่าวไทยทางทิศใต้ แม่น�้าโขงท�าหน้าที่รับน�้าและเป็นขอบเขตประเทศไทย-ลาว จากภาคเหนือและ
               ภาคตะวันออกเฉียงเหนือผ่านประเทศกัมพูชาไปออกทะเลจีนใต้ที่ประเทศเวียดนามทางตะวันออก
               และมีแม่น�้าสาละวินท�าหน้าที่รับน�้า และเป็นขอบเขตประเทศไทย-เมียนมา ระบายน�้าออกสู่ทะเล  และดินเค็มในแอ่งที่ราบ ในเวลาเดียวกันเกลือเป็นทรัพยากรส�าคัญ
               อันดามันในประเทศเมียนมา                                                  น�ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการตั้งถิ่นฐานอย่างหลากหลายจนกล่าว

                      บริเวณตะวันออกเฉียงเหนือหรือที่ราบสูงโคราช  ภูมิประเทศเป็นที่ราบกว้างสูงจากระดับ   ได้ว่า อีสานเป็น “ดินแดนวัฒนธรรมเกลือ”
               ทะเลปานกลาง โอบล้อมด้วยเทือกเขาที่ยกตัวสูงขึ้นจากที่ราบใกล้เคียง ได้แก่ ลุ่มน�้าป่าสักและ      บริเวณภาคตะวันออกเชื่อมต่อลุ่มน�้าเจ้าพระยาถึง
               ที่ราบเจ้าพระยาทางตะวันตก  ลุ่มน�้าปราจีนบุรีและชายฝั่งทะเลยาวตลอดถึงลุ่มน�้าโตนเลสาบ   โตนเลสาบ เป็นพื้นที่ภูเขาและที่ราบกว้าง รวมถึงที่ราบชายฝั่งทะเล
               ทางทิศใต้ ส่วนทางทิศเหนือและทิศตะวันออกของที่ราบสูงโคราชมีแม่น�้าโขงเป็นขอบเขตประเทศ   และส่วนที่ราบลุ่มน�้า
               รับน�้าจากแอ่งที่ราบผ่านแม่น�้ามูล-ชี ไปออกทะเลจีนใต้ สภาพธรณีวิทยารองรับด้วยชั้นตะกอนหินทราย
                                                                                                     G            eography - Climate
               ในมหายุคมีโซโซอิควางตัวแบบไม่ต่อเนื่องอยู่ใต้ชั้นตะกอนหินเกลือหนาที่มีอิทธิพลท�าให้เกิดปัญหาน�้า









                                                                                                                           Geography

                                   Thailand covers an area of 513,115 square kilometers with plains and high mountains. These various features have resulted in
                                     different conditions and the development of settlements from the past to the present. An area of 324,400 square kilometers,
                                   or approximately 63% of the country areas contains plains and the rest is covered by mountains which are not appropriate for
                                          settlement since the areas are used for watershed conservation. Plains are found in the following areas of the country.
                                 The northern plains are surrounded and separated from each other by mountains. There are waterways running through the basin
                            before draining into the main rivers: Ping, Wang, Yom and Nan, while the Mekong River, bordering Thailand and Laos in the northern
                region and separates Thailand and Cambodia in the northeast, receives water from the tributaries. In the west of the country, the Salween River, which
                                           borders on Thailand and Myanmar, obtains water from the tributaries and flows into the Andaman Sea in Myanmar.
                        The Chao Phraya plain covers the northern mountainous areas till the Chao Phraya estuary on the Gulf of Thailand. Along both sides of the
                  Chao Phraya lie the mountainous areas such as the Tanaosri and Thanon Thongchai ranges on the west. On the east lie the Phetchabun and Phang
                 Huey mountain ranges, which formed the Korat plateau boundary. The central plain also covers the Pasak Basin stretching from north to south along
                               the edge of the Korat plateau forming flats in the valleys where the west and east of Phetchabun mountain ranges lie on both sides.
                                                   The northeast plain or the Korat plateau covers a vast area of highlands most of which is above sea level.
                                     These areas are surrounded by mountain ranges developing from nearby plains including Pa Sak, Chao Phraya, Prachinburi,
                             and Tonle Sap basins in the south. In the north and the east of the plains, the Mekong River, functioning as the border of the country,
                                  receives the water from lower plains through the Chi and Mun Rivers before flowing out to the South China Sea. The areas are
                underpinned by thick layers of sandstone sediment from the great Mesozoic era. These layers appear to be dispersing under thick layers of sedimentary
                               salt stone that can cause water and alkaline soil problems in the areas. Somehow, as salt is one of the important natural resources,
                                                       it has resulted in a diversity of settlement cultures, so the northeast is called “Land of Salt Culture”.
                           The peninsula plain is a narrow coastal area parallel to mountains ranges on both sides of the peninsula with the Gulf of Thailand coast
                  in the east and the coast of the Andaman Sea in the west. Covering the areas from the central region to the end of the southern region, the plain is
                       divided into two parts. One begins from the north of the Kra Isthmus to the part of Mekong basin where the Tanaosri mountain range borders
                                              Thailand and Myanmar, and the other part is from the south of the Kra Isthmus to the Thailand-Malaysia border.




                                                                                                                               l  129  129
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148