Page 140 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 140

“สุวรรณภูมิ”
             ดินแดนบนเส้นทางการค้าและวัฒนธรรมตะวันตก-ตะวันออก


                    แผนที่เดินเรือในเอกสารปโตเลมี (พ.ศ. ๖๙๓) แสดงให้เห็นบริเวณ “Aurea     พ.ศ. ๒๓๕ พระเจ้าอโศกมหาราช ภายหลังการประชุมสังคายนาพระไตรปิฎก
             Khersonesus” หมายถึง “แผ่นดินทอง” ตรงกับ “สุวรรณภูมิ” ในคัมภีร์ชาดกโบราณ ทรงส่งพระธรรมทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายัง “สุวรรณภูมิ” ชาวสุวรรณภูมิ ได้มี
             และเอกสาร  บอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับการเดินทางค้าขาย  จากประเทศอินเดีย    ศรัทธารับไว้และถือปฏิบัติด้วยความภูมิใจตลอดเรื่อยมาช้านาน ตามเอกสารและชาดก
             ถึงเอเชียอาคเนย์                                            กล่าวว่า สุวรรณภูมิอยู่ทางทิศตะวันออกของอินเดีย จึงเป็นที่แน่ชัดว่า สุวรรณภูมินั้น
                                                                         หมายถึง  แผ่นดินคาบสมุทรเอเชียอาคเนย์ที่ขวางกั้นระหว่างทะเลอันดามันใน

                    “ดินแดนสุวรรณภูมิ” เป็นชื่อเรียกแผ่นดินที่มีการกล่าวถึงในเอกสารโบราณ มหาสมุทรอินเดีย  และอ่าวไทยในทะเลจีนใต้  และอยู่บนเส้นทางค้าขายระหว่าง
             และชาดก มีความหมายว่า “แผ่นดินทอง” หมายถึง ดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์    อินเดีย-จีน หรือเป็นศูนย์กลางการค้าของประเทศในดินแดนโพ้นทะเลทั้งทางตะวัน
             ดังปรากฏใน  “พระมหาชนก”  พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ออกและตะวันตก
             ภูมิพลอดุลยเดช เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๙ จากต้นฉบับพระไตรปิฎก (พระสุตตันตปิฎก
             ขุททกนิกายชาดก  เล่มที่  ๔  ภาคที่  ๒)  กล่าวถึงพระมหาชนกเดินทางมา      ปัจจุบันมีหลายประเทศตั้งอยู่บนแผ่นดินคาบสมุทรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
             ค้าขายที่  “สุวรรณภูมิ”  แต่เรือแตกกลางทะเล  พระมหาชนกต้องใช้ความอดทน   และมีพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจ�าชาติ ซึ่งแต่ละประเทศมีความภูมิใจและปรารถนา
             เพียรพยายามว่ายน�้าให้ถึงฝั่ง                               ให้  “สุวรรณภูมิ”  ดินแดนแห่งวัฒนธรรมและการค้าที่เจริญรุ่งเรืองยาวนาน

                                                                         ในประวัติศาสตร์ ตั้งไว้ในประเทศของตน
































                  เส้นทางเดินเรือทางทะเลของชาวจีน
                  Chinese’ Sea Voyages
                  1) Ying, 7  Century
                            th
                  2) Sui 607-10 AD
                  3) Faxian September 413 - June 414
                                  (Paul Wheatley, 1973)


           126  126  l
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145