Page 144 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 144
มรสุมตะวันตก–ตะวันออก
ที่มาของภาพ : ส�านักพยากรณ์อากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา
ประเทศไทยตั้งอยู่ใกล้แนวเส้นศูนย์สูตร บริเวณตอนเหนือของ ต�่ากว่า ๑,๐๐๐ มิลลิเมตรต่อปี ส่วนระยะเวลาของฤดูฝนและปริมาณฝน
ประเทศเป็นส่วนของภาคพื้นดินกว้างมีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบร้อนชื้นหรือ มีความแตกต่างกันไปตามภูมิภาคและระดับความสูง
แบบสะวันนา (Aw) ตามการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน บริเวณตอนใต้
เป็นแผ่นดินคาบสมุทรมีพื้นที่แคบ ถูกขนาบด้วยผืนน�้าขนาดใหญ่ของ ลมและกระแสน�้าในสองฝั่งมหาสมุทรในช่วงฤดูมรสุม ๒ ช่วง เอื้อต่อ
มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิค มีลักษณะภูมิอากาศแบบมรสุม การเดินเรือข้ามระหว่างภูมิภาคตะวันออกและตะวันตก คือ ลมมรสุม
เขตร้อน (Am) อุณหภูมิเฉลี่ยทั่วประเทศอยู่ระหว่าง ๑๙ - ๓๘ องศาเซลเซียส ตะวันตกเฉียงใต้ ระหว่างกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม
อุณหภูมิสูงสุดอยู่ในช่วงกลางเดือนเมษายน หลังจากนั้น ภายใต้อิทธิพล มีแหล่งก�าเนิดจากบริเวณมหาสมุทรอินเดีย เป็นลมตะวันตกเฉียงใต้
ของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงเหนือท�าให้ประเทศไทยเข้า ช่วยในการเดินเรือจากมหาสมุทรอินเดียมาสู่แผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สู่ฤดูฝนและฤดูหนาวตามล�าดับ พื้นที่ทั้งประเทศมีปริมาณน�้าฝนเฉลี่ยประมาณ หรือเรือจากคาบสมุทรมลายูแล่นไปยังทะเลจีนใต้ และลมมรสุมตะวันออก
๑,๑๐๐ - ๑,๕๐๐ มิลลิเมตรต่อปี บริเวณที่ฝนตกมากที่สุดคือ ภาคใต้และ เฉียงเหนือ ราวกลางเดือนตุลาคมจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ มีแหล่งก�าเนิด
บริเวณริมชายฝั่งทะเลของภาคตะวันออก ซึ่งมีปริมาณน�้าฝนมากกว่า ๒,๐๐๐ จากบริเวณความกดอากาศสูงบนซีกโลกเหนือ แถบประเทศมองโกเลียและ
มิลลิเมตรต่อปี ในบางท้องที่สูงถึง ๔,๐๐๐ มิลลิเมตรต่อปี บริเวณที่มีฝนตก จีน เป็นลมตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วยในการเดินทางจากทะเลจีนใต้ลงมา
น้อยคือบริเวณเทือกเขาสูงตอนกลางของประเทศ ซึ่งมีปริมาณน�้าฝนเฉลี่ย แถบคาบสมุทรมลายู และพาเรือไปยังฝั่งมหาสมุทรอินเดีย
130 130 l