Page 263 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 263
ไม่เพียงแต่ในเรื่องของเนื้อหาข้อมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่มาและ
20 ํ 36’ N
106 ํ 26’ E เทคนิคการท�าแผนที่ หากแต่มีข้อมูลที่ยังต้องวิเคราะห์อีกมากมายให้สมกับ
ที่เป็น “แผนที่ไทยท�า” ที่ยังคงเหลือเป็นมรดกตกทอดให้คนไทยในปัจจุบัน
ได้รับรู้ในภูมิปัญญาด้านแผนที่ในอดีต
นิจ หิญชีระนันทน์ พ.ศ. ๒๕๐๘ อธิบายจากสัญลักษณ์ของแผนที่
และพิจารณาว่าเป็น “แผนที่แผนทาง” แสดงถึงแม่น�้า ภูเขา ป้อมค่าย และ
แม่นํ้าโขง หมู่บ้าน และแสดงเส้นทางการเดินทัพโดยบอกระยะทางโดยประมาณ
จากเวลา เช่น เดินทางหนึ่งวัน หรือสองวัน เป็นต้น
ลาสี สเตอร์สไตน์ พ.ศ. ๒๕๐๙ วิเคราะห์ว่าแผนที่ท�าขึ้นจาก
แผนที่ต้นฉบับเก่า ซึ่งยังระบุชัดเจนไม่ได้ว่าเมื่อใด และเสนอแนะว่าท�ามาจาก
แผนที่ต้นฉบับน่าจะมีมาก่อนพุทธศตวรรษที่ ๒๓
วิคเตอร์ เคนเนดี (Victor Kennedy), พ.ศ. ๒๕๒๑ วิจารณ์ว่า เป็น
แผนที่ที่มีความสมบูรณ์และแม่นย�ามาก โดยเฉพาะบริเวณภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ และให้ข้อสังเกตโดยอาศัยชื่อและต�าแหน่งเมืองหลายแห่ง ฃึ่งเป็น
สุโขทัย
ชื่อพระราชทานในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
ขอนแก่น มุกดาหาร บางชื่อในสมัยรัชกาลที่ ๓ และรัชกาลที่ ๔ แผนที่ฉบับนี้น่าจะท�าขึ้นภายหลัง
เพชรบูรณ์ แม่นํ้าโขง
จากนั้น
บาเรนต์ แจน เทอร์วีล (Barend Jan Terwiel), พ.ศ. ๒๕๕๔
แม่นํ้าชี
นครสวรรค์ ได้วิเคราะห์ว่า แผนที่ฉบับนี้ท�าขึ้นจากต้นฉบับครั้งสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑
แม่นํ้ามูล (พระเจ้าอู่ทอง) ที่มีมาก่อนสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยวิเคราะห์ว่า
“แผนที่ราชอาณาจักรสยาม” (Carte bu Royaume De Siam) ที่จัดพิมพ์ขึ้น
แม่นํ้าป่าสัก
โคราช สุรินทร์ อุดรธานี เมื่อปี พ.ศ. ๒๒๒๙ เผยแพร่ในฝรั่งเศสสมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔
แม่นํ้า
ส่วนของแผนที่คลุมบริเวณอีสาน ซึ่งไม่มีหลักฐานว่าชาวยุโรปเดินทางไปถึง
เจ้าพระยา
คงต้องใช้แผนที่ซึ่งคนไทยมีใช้อยู่แล้ว เป็นข้อมูลท�าแผนที่ฉบับนั้น
พระนครศรีอยุธยา ทิวา ศุภจรรยา, พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้พิสูจน์ให้เข้าใจว่า แผนที่ส่วนด้าน
แม่นํ้าโขง
ตะวันตกที่มีแนวทางน�้าจากก�าแพงเพชรถึงเขาพระศรีที่ตั้งเมืองสังคโลก และ
ฉะเชิงเทรา มีทางน�้าเชื่อมกับแม่น�้ายมที่เมืองธานี (ที่ตั้งอ�าเภอเมืองฯ จังหวัดสุโขทัย
ปัจจุบัน) เป็นแนวเดียวกันกับคลองชลประทานโบราณ “ท่อปู่พระยาร่วง”
ที่มาของการสร้างเมืองสุโขทัย
การศึกษาแผนที่โดยการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ GIS, GPS
และ RS ในเชิงเปรียบเทียบหาความสัมพันธ์ ได้น�ามาใช้เป็นแนวทางวิเคราะห์
ค้นหาความจริง และการใช้ประโยชน์ของแผนที่ยุทธศาสตร์ครั้งสมเด็จ
พระรามาธิบดีที่ ๑
แผนที่ยุทธศาสตร์ครั้งพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ใส่สีสัญลักษณ์ให้
สะดวกใช้ส�าหรับการวิเคราะห์ศึกษาเปรียบเทียบกับเอกสารข้อมูลทางประวัติศาสตร์
และทะเบียนแหล่งที่ตั้งชุมชนโบราณ เพื่อให้ทราบถึงสถานภาพของแผนที่ยุทธศาสตร์ฯ
N
และประวัติความเป็นมาของแหล่งที่ตั้งชุมชนโบราณส�ารวจพบในรูปถ่ายทางอากาศ
และภาพจากดาวเทียม
A ncient cities on the strategic map
80 km. การศึกษาเปรียบเทียบแผนที่ยุทธศาสตร์ฯ แสดงผลในภาพจ�าลองความสูง
(DEM)
in the reign of King Ramathibodi I
(King U Thong)
In 1970, The Royal Thai Survey Department published the strategic map used during the reign of King Ramathibodi I. The Department
offered this map to King Bhumibol when he visited the area on March 23, 1970. This ancient map displays routes and the location of each city
with a symbol showing the status of the city as well as its name (which is related to water and mountain routes). The map covers the total
northeastern and central regions of Thailand as well as the areas from Muang Sangkhalok on the Yom River to the location of Muang Phranakhon
Si Ayutthaya. It is one of important maps drafted in Thailand, and it is worth studying for sources of information and historical evidence as well
for mapmaking techniques and other useful pieces of information.
l 249 249