Page 310 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 310

เส้นทางข้ามคาบสมุทร-แนวแคบสุดประเทศไทย




                    “เส้นทำงข้ำมคำบสมุทรด่ำนสิงขร“ และ “แนวแคบสุดประเทศไทย” ตั้งอยู่
             ในเขตกำรปกครองอ�ำเภอเมืองฯ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นแนวตั้งอยู่คนละที่และ
             มีที่มำต่ำงกัน  แต่ทั้งสองแนวมีควำมส�ำคัญในฐำนะเป็นมรดกแผ่นดินที่พระมหำ
             กษัตริย์ไทยทรงรักษำไว้ได้ด้วยพระปรีชำญำณ
                                                                                                                    มะริด






                                                                           12 ํ 29’ N
                                                                           98 ํ 40’ E







































                  มะริด (Myik)
                                                                            N


     12 ํ 24’ N                                                                      11 ํ 25’ N
     98 ํ 34’ E                                                            1 km.     98 ํ 15’ E





                   “เส้นทางข้ามคาบสมุทรด่านสิงขร” เป็นเส้นทางคมนาคมที่มีความส�าคัญทางการค้าและทางยุทธศาสตร์ระหว่าง
             ทะเลอ่าวไทยที่เมืองประจวบคีรีขันธ์  ผ่านช่องสิงขรและเมืองตะนาวศรีไปยังเมืองท่ามะริดบนฝั่งทะเลอันดามัน
             ปากแม่น�้าตะนาวศรี จัดเป็น “เส้นทางวัฒนธรรม” ที่มีเรื่องราวแต่อดีตสมัยเริ่มต้นการค้าขายทางทะเล จนถึงสมัยสุโขทัย
             อยุธยา และรัตนโกสินทร์ มีความส�าคัญต่อการพัฒนาในปัจจุบัน ส�าหรับเมืองประจวบคีรีขันธ์ ที่จะร่วมกันกับประเทศ
             เพื่อนบ้านในฐานะเมืองพี่เมืองน้องบนสองฝั่งแผ่นดินคาบสมุทรทะเลอ่าวไทยและทะเลอันดามัน และรวมถึงจังหวัดเกาะกง
             ประเทศกัมพูชา


                                       “...ประจวบคีรีขันธ์...“ “...ปัจจันตคีรีเขต...”

               ชื่อที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานให้ ในฐานะเมืองพี่เมืองน้องบนสองฟากฝั่งทะเลอ่าวไทย



                                                                                                             11 ํ 43’ N
                                                                                                             99 ํ 46’ E



           296 296  l
   305   306   307   308   309   310   311   312   313   314   315