Page 330 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 330

 ผืนแผ่นดิน...มรดกถึงลูกหลานไทย








                                                                                                                                 เกาะคอเขา
             อ่าวบ้านดอน...                                                                                                      อ�ำเภอตะกั่วป่ำ
                                                                                                                                 จังหวัดพังงำ
             ศูนย์กลางอาณาจักรพันพัน





                   อ่าวบ้านดอนอยู่บนฝั่งทะเลอ่าวไทยในส่วนของภาคใต้ประเทศไทยต่อจาก  “เกาะคอเขา” เป็นเกาะชิดแผ่นดินที่ปากแม่น�้าตะกั่วป่าฝั่งทะเลอันดามัน
             บริเวณคอคอดกระ  เป็นอ่าวเว้าลึกเข้าไปในแผ่นดิน  มีหมู่เกาะอ่างทองและ มีการท�าเหมืองแร่ดีบุกทั้งบนแผ่นดิน  ในที่ลุ่มแม่น�้า  และชายฝั่งทะเล  พบ
             เกาะสมุยเป็นแนวปิดกั้นคลื่นลมจากทะเลอ่าวไทยทางตะวันออก มีแม่น�้าตาปีไหล หลักฐานการถลุงและแท่งโลหะดีบุกส่งออกไปต่างประเทศ  “แหลมโพธิ์”
             ลงสู่อ่าวทับถมตะกอนเป็นแผ่นดินภูมิลักษณ์เดลต้า มีความอุดมสมบูรณ์และ เป็นสันทรายปลายแหลมด้านทิศเหนือของอ่าวบ้านดอน มีคลองใหญ่พุมเรียง
             เหมาะสมกับการเป็นท่าเรือที่ส�าคัญแห่งหนึ่งในอ่าวไทย มีการตั้งถิ่นฐานต่อเนื่อง ไหลผ่านอ่าวบ้านดอน
             นับแต่ก่อนพุทธกาลจนถึงปัจจุบัน พบโบราณวัตถุโบราณสถานในบริเวณรอบอ่าว  “เมืองเวียงสระ”  เมืองโบราณมีก�าแพงเมือง-คูเมือง  รูปแบบเส้นตรง
             หลายแห่ง ได้แก่ เขาพุนพิน แหลมโพธิ์ วัดแก้ว วัดหลง วัดมหาธาตุในบริเวณ มุมเหลี่ยม  ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกติดแม่น�้าตาปีห่างจากเขาพุนพิน  แหล่ง
             อ่าวไชยา และถ�้าสิงขร ในอ�าเภอคีรีรัฐนิคม ปราชญ์ทางประวัติศาสตร์โบราณคดี โบราณคดีที่อ่าวบ้านดอนประมาณ ๕๐ กิโลเมตร แสดงถึงการตั้งถิ่นฐานภายหลัง
             เชื่อว่าเป็นศูนย์กลาง  “อาณาจักรพันพัน”  ตามที่กล่าวไว้ในจดหมายเหตุจีน  สมัยทวารวดี พบรูปหล่อส�าริดอวโลกิเตศวร พุทธศตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘ เป็น
             สมัยราชวงศ์ถัง ซึ่งมีความเจริญเป็นบ้านเมืองมาแล้วในพุทธศตวรรษทื่ ๑๔ และ  เส้นทางผ่านไปสู่ทะเลอันดามันที่ควนลูกปัด จังหวัดกระบี่ และผ่านอ�าเภอทุ่งสง
             ต่อเนื่องถึงสมัยศรีวิชัย                                 สู่ทะเลอันดามันที่อ�าเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
                   “เกาะคอเขา” และ “แหลมโพธิ์” เป็นแหล่งโบราณคดีติดชายฝั่งทะเล  “โครงการสะพานผ่านแผ่นดิน” เป็นเส้นทางข้ามคาบสมุทรเยี่ยงในอดีต
             อันดามันที่พบเครื่องถ้วยดินเผา เครื่องแก้ว เครื่องประดับ โดยเฉพาะลูกปัด เป็นโครงการที่เริ่มต้นไว้แต่ยังไม่สามารถท�าให้แล้วเสร็จ เป็นเพียงแนวแผ้วถาง
             จ�านวนมาก แสดงถึงความเป็นท่าเรือบนสองฝั่งมหาสมุทร และเป็นที่รู้จักอย่างดี ที่เห็นกันได้ทั่วโลกผ่านภาพจากดาวเทียม
             ในหมู่นักวิชาการนานาชาติที่ศึกษาเกี่ยวกับการค้าบนเส้นทางข้ามคาบสมุทร
             จากอ่าวบ้านดอนสู่ทะเลอันดามัน


                                                                                                                     10 ํ 01’ N
                                                                                                                     100 ํ 15’ E







                                                                                      แหลมโพธิ์


                                                   เกาะคอเขา


                                                                                        แนวสะพานผ่านแผ่นดิน                      08 ํ 49’ N
                                                                                   สุราษฎร์ธานี
                                                                                                                                 98 ํ 10’ E


                                                                                                                                 แหลมโพธิ์
                                                                                                                                 อ�ำเภอไชยำ
                                                                                                                                 จังหวัดสุรำษฎ์ธำนี

                                                                                        เวียงสระ








                                                                                                                                                 เวียง
                                                                              พังงา


                                                            ภูเก็ต

     07 ํ 39’ N                                                                                                                  09 ํ 21’ N
     96 ํ 54’ E                                                                                                                  99 ํ 09’ E








           316 316  l
   325   326   327   328   329   330   331   332   333   334   335