Page 10 - สมัยประชาธิปไตย
P. 10

ประวัติศาสตร์   ม. ๓    หน่วยการเรียนที่    ๔       ประวัติศาสตร์ไทยสมัยประชาธิปไตย                             ๘


               ผู้อื่น อาทิ มีผลงานร่วมกับพระยาอนุมานราชธน ในนามปากกา “เสถียรโกเศศและนาคะประทีป” พระสารประเสริฐ

               เริ่มเข้ารับราชการเป็นอนุศาสนาจารย์ประจ ากรมต ารา กระทรวงกลาโหม ใน พ.ศ. ๒๔๖๕ และย้ายมาประจ ากรม
               ต ารา กระทรวงศึกษาธิการ จนถึงแก่กรรมเมื่อ ๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๘ ผลงานที่ส าคัญที่ท าร่วมกับพระยาอนุมาน

               ราชธน คือ กามนิต ทศมนตรี หิโตประเทศ นิยายเบงคลี ได้รับประกาศนียบัตรของวรรณคดีสโมสร กถาสริตสาคร ปา
               ชาหรือนิยายมากเรื่องฟอลคอน (เจ้าพระยาวิชาเยนทร์) โลกนิติไตรพากย์ ธรรมนิติ บันเทิงทศวาร คนมีประโยชน์

               เรื่องเหล่านี้ แม้ว่าจะแปลมาจากภาษาอื่น แต่ท านองการเขียนภาษาไทยดีมาก เป็นการขยายขอบเจต ความคิด

               ความรู้ในทางวรรณคดีให้กว้างขวางออกไป
               พระยาอนุมานราชธน ( ยง เสถียรโกเศศ พ.ศ. ๒๔๓๑ – พ.ศ. ๒๕๑๒ )

               ศาสตราจารย์อนุมานราชธน เกิดเมื่อ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๓๑ เป็นบุตรของนายหลี นางเฮียะ ได้รับพระราชทาน
               นามสกุลว่า เสถียรโกเศศ เริ่มการศึกษาจนจบชั้น ๔ โรงเรียนอัสสัมชัญ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๗ จากนั้นได้ศึกษาด้วยตนเอง

               เริ่มท างานโดยรับราชการในกรมศุลกากร แต่สนใจทางด้านการประพันธ์จึงศึกษาค้นคว้าทางด้านภาษา ท างานใน

               กรมศุลการกร จนได้เป็นผู้ช่วยอธิบดี แล้วลาออกมาท างานในกรมศิลปากร ได้เลื่อนต าแหน่งเป็นอธิบดีกรมศิลปากร
               ท่านถึงแก่กรรมเมื่อ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๒

               ผลงานของท่าน เช่นช่วยพระยาอุปกิตศิลปะสาร ในการแต่ง บทดอกสร้อยเรื่อง ร าพึงในป่าช้า

               ด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศ


               ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน

                      การเสด็จเยือนประเทศใกล้เคียง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสังสรรค์ท าความรู้จักกับชาว

               ต่างประเทศ ภายในพระราชอาณาจักรแล้ว พระองค์ยังหาโอกาสไปเยือนประเทศต่าง ๆ ที่มีอาณาเขตใกล้ชิดติดต่อ
               กับประเทศของเรา เพื่อทรงเชื่อมความสัมพันธไมตรี ให้ดียิ่งขึ้น อาทิได้เสด็จเมืองสิงคโปร์ ชวา และปัตตาเวีย เมื่อ

               พ.ศ. ๒๔๗๒ เริ่มเดินทางออกจากกรุงเทพฯ เมื่อ ๒๔ กรกฎาคม ๒๔๗๒ โดยเรือพระที่นั่งมหาจักรี ถึงสิงคโปร์ ในวันที่

               ๓๑ กรกฎาคม ๒๔๗๒ เจ้าของเกาะสิงคโปร์ (ผู้แทนรัฐบาลอังกฤษ) มีพระราชโทรเลขถวายบนเรือพระที่นั่ง ความว่า
               "ทรงหวังว่าพระราชหฤทัย (รัชกาลที่ ๗) คงจะทรงพระส าราญ ..." การเสด็จเยือนสิงคโปร์ บรรดาชาวเมือง ห้างร้าน

               ธนาคาร หยุดท าการ ในวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๔๗๒ เพื่อถวายพระเกียรติ จากสิงคโปร์ได้เสด็จถึงเมืองปัตตาเวียในเกาะ
               ชวา ในวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๔๗๕ ผู้ส าเร็จราชการ ขึ้นเฝูาแล้วเชิญเสด็จประทับที่วังประจ าเมือง พระองค์ได้เสด็จ

               ทอดพระเนตร การอุตสาหกรรมสวนชา และสวนยางของชาวเมืองต่าง ๆ อาทิ บันดง การุต สุราบายา ฯลฯ จนถึง

               วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๔๗๒ เสด็จขึ้นปีนัง ประทับรถไฟกลับพระนคร ใช้เวลาเดินทางรวม ๗๘ วัน
               พ.ศ. ๒๔๗๓ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จประพาสอินโดจีน อย่างเป็นทางการ ตั้งแต่ วันที่ ๕

               เมษายน ๒๔๗๓ โดยเรือพระที่นั่งมหาจักรี ถึงกรุงไซ่ง่อน ข้าราชการฝุายอินโดจีนจัดการรับเสด็จ แล้วเสด็จต่อไปถึง
               เมืองเว้ วันที่ ๒๒ เมษายน ๒๔๗๓ วันรุ่งขึ้นเสด็จไปทอดพระเนตรชมเมืองและพระราชวังจักรพรรดิเบาได๋ ซึ่งขณะนั้น


                                                                                      ผู้สอน ครูจิราพร  พิมพ์วิชัย
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15