Page 31 - NUT
P. 31
สาขาวิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำาปีการศึกษา ๒๕๖๐ [ปากตลาด เล่มที่ ๑๔]
ความรู้สึกของ ดร.ชนกพร พัวพัฒนกุล นักดนตรี CU Band
ที่ได้อัญเชิญชื่อเพลงพระราชนิพนธ์ร้อยเรียงเป็นเพลง
“รักในดวงใจนิรันดร์” สุดไพเราะ
มนฤดี พึงชัยภูมิ
ในช่วงเวลาที่ผ่านมามีศิลปินหลายๆ ท่าน
แต่งเพลงเพื่อน้อมร�าลึกถึงในหลวงรัชกาลที่ ๙ ออกมา
ให้ฟังกันอย่างมากมาย โดยแต่ละเพลงนั้นมีความไพเราะ
และมีความหมายดีงามน่าประทับใจ ซึ่งท�าให้เราสัมผัสได้
ถึงพลังของความรักและความอาลัยเมื่อได้ฟังเพลงเหล่านั้น
นอกจากนี้ ยังเชื่อว่าหลายคนคงเคยได้ยินหรือรู้จักกับ
บทเพลงพระราชนิพนธ์ในชื่อว่า “รักในดวงใจนิรันดร์” เป็น
เพลงที่สมาชิกชมรมดนตรีสากล สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์-
มหาวิทยาลัย (CU Band) ทั้งศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบัน
ได้ร่วมร้องเพลง “รักในดวงใจนิรันดร์” แสดงความอาลัย ประวัติส่วนตัว
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ชื่อ ดร.ชนกพร พัวพัฒนกุล อายุ ๓๗ ปี
โดยได้อัญเชิญชื่อเพลงพระราชนิพนธ์ ๒๘ เพลงมา ส�าเร็จการศึกษาจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
ร้อยเรียงกัน เพื่อส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณอันหา มหาวิทยาลัย ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจ�าและเป็นประธาน
ที่สุดมิได้ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย อยู่ที่
บทเพลงนี้ เริ่มต้นจากบทกลอนที่ อาจารย์เมย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ดร.ชนกพร พัวพัฒนกุล แต่งขึ้นจากความรู้สึก เพื่อ
ร�าลึกถึงในหลวงรัชกาลที่ ๙ อันเป็นที่รักของพวกเรา จุดเริ่มต้นของการเป็นนักแต่งเพลง
โดยได้แรงบันดาลใจในการน�าชื่อเพลงพระราชนิพนธ์ เป็นคนที่ชอบแต่งค�าประพันธ์มาตั้งแต่เด็กๆ
มาร้อยเรียง จากประสบการณ์ที่เคยได้ร่วมเล่นดนตรีกับ และเล่นดนตรีได้หลายอย่าง สมัยเรียนก็อยู่ในวงดนตรี
ซียูแบนด์ในระหว่างเรียนที่จุฬาฯ และ O-CU Band ของมหาวิทยาลัย ด้วยความชอบสองอย่างนี้ บางครั้งก็มี
(วงศิษย์เก่า) ซึ่งได้มีโอกาสอัญเชิญบทเพลงพระราชนิพนธ์ ลองเขียนเนื้อร้องและใส่ท�านองเป็นเพลงบ้างเหมือนกัน
มาบรรเลงทุก ๆ ปี การแต่งเพลงนี้มีจุดเริ่มต้นมาอย่างไร แต่ก็เป็นลักษณะแต่งเอง ฟังเอง หรือเผยแพร่ในหมู่เพื่อนๆ
เรามาฟังความรู้สึกของอาจารย์กันค่ะ ไม่ได้เป็นนักแต่งเพลงอาชีพ
{ 27 }