Page 32 - NUT
P. 32

สาขาวิชาการตลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ประจำาปีการศึกษา ๒๕๖๐  [ปากตลาด เล่มที่ ๑๔]

























            แรงบันดาลใจในการแต่งเพลงรักในดวงใจนิรันดร์         ความยากในการเรียบเรียงจากชื่อเพลงพระราชนิพนธ์

                     แรงบันดาลใจในการแต่งเพลงเกิดจากการที่     ใช้เวลานานแค่ไหนถึงจะสมบูรณ์มาเป็นเพลง
            ตอนเรียนเราเคยเป็นสมาชิกในวงดนตรีของชมรมดนตรี               ต้องอธิบายว่าเพลงนี้ตอนแรกแต่งเป็น

            สากลแห่งสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหรือ        บทประพันธ์ขึ้นมาก่อน ใช้เวลาประมาณ ๑  คืน ระหว่าง

            ซี.ยู.แบนด์  พอเรียนจบก็ได้มีโอกาสเล่นในวงศิษย์เก่าด้วย   ที่นั่งรถประจ�าทางจากกรุงเทพฯ  ไปท�างานที่จังหวัด
            ซึ่งทั้งสองวงก็มักจะอัญเชิญบทเพลงพระราชนิพนธ์ของ   อุบลราชธานี  ตอนแรกยังไม่ได้ใช้ชื่อรักในดวงใจนิรันดร์
            พระองค์ท่านมาบรรเลงหรือขับร้องอยู่เสมอ ประกอบกับ   หลังจากนั้นพอเผยแพร่ไป  อาจารย์สันทัด  ตัณฑนันท์

            สมาชิกในวงศิษย์เก่าหลายท่านก็เป็นสมาชิกในวง อ.ส.   ซึ่งเป็น “พี่เก่า” ของ ซี.ยู. แบนด์ และเป็นหนึ่งใน

            วันศุกร์  ซึ่งเป็นวงดนตรีส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จ   นักดนตรีวง อ.ส. ก็ตั้งชื่อให้ และได้รุ่นน้องคือคุณอัจฉริยา
            พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ท�าให้ได้มีโอกาสฟังเรื่องราว  ดุลยไพบูลย์  ซึ่งเป็นนักแต่งเพลงอาชีพและเป็นอดีต
            เกี่ยวกับพระอัจฉริยภาพด้านดนตรีและพระมหากรุณาธิคุณ   สมาชิกวง  ซี.ยู.แบนด์  น�าไปใส่ท�านอง  ขับร้อง  และ

            ของพระองค์ท่านมาตลอด เมื่อทราบข่าวการสวรรคตและ     บันทึกเสียง ซึ่งก็ใช้เวลาประมาณ ๑ คืนเช่นกัน  ส�าหรับ

            คิดจะเขียนอะไรสักอย่างเพื่อแสดงความอาลัย  ก็เลยคิดว่า  ตัวเองความยากคือการน�าชื่อเพลงที่แต่ละเพลงมี
            อยากจะน�าชื่อเพลงพระราชนิพนธ์มาแต่งเป็นค�าประพันธ์  ความหมายเฉพาะ มาร้อยเรียงให้เป็นเรื่องราวตามความ
            เพื่อถ่ายทอดความรู้สึกที่มีในขณะนั้น               รู้สึกของเรา  บางเพลงก็จ�าเป็นต้องยกไว้  อย่างในเพลง

                                                               รักในดวงใจนิรันดร์จะอัญเชิญชื่อบทเพลงพระราชนิพนธ์

                                                               มา ๒๘ เพลง แต่จริงๆ มีเยอะกว่านั้น ที่เป็นภาษาอังกฤษ
            ความรู้สึกที่ได้จากการแต่งเพลง
                                                               ก็มี แต่ไม่สามารถน�ามาใส่ในค�าประพันธ์ได้ เพราะเนื้อหา
                     ตอนที่แต่งค�าประพันธ์จบ พอลองอ่านทวนดู    ไม่ไปด้วยกัน

            ช้า ๆ ก็รู้สึกว่าเต็มตื้นขึ้นมา คือพอเราได้ถ่ายทอดความคิด
            ความรู้สึกที่มีออกมาแล้ว  ท�าให้เราเข้าใจและตามอารมณ์

            ของตัวเองในขณะนั้นได้ดีมากขึ้น  คือยังเศร้าและเสียใจอยู่  ความประทับใจที่มีต่อในหลวงรัชกาลที่ ๙
            แต่ก็ไม่ดิ่งหรือจมอยู่นาน คล้ายกับเป็นการปลุกปลอบ           ความประทับใจที่มีต่อประองค์ท่านจริงๆ

            ตัวเองด้วยว่า ถึงจะเศร้าก็ต้องลุกขึ้นมาท�าหน้าที่ของเราต่อ   มีหลายเรื่อง  แต่ที่ส�าคัญมากมีสองเรื่อง  เรื่องแรกคือเรื่อง
            ซึ่งเพื่อนและรุ่นพี่หลายคนก็ทักมาและบอกว่าเขา      พระอัจฉริยภาพทางด้านดนตรี ภาษา และวรรณศิลป์

            ฟังเพลงนี้แล้วก็เกิดก�าลังใจที่จะลุกมาท�างานด้วย   อีกเรื่องหนึ่งคือเรื่องความเป็นครู ทรงรู้ ทรงสอน และ
            เหมือนกัน                                          ทรงปฏิบัติให้ดูเป็นแบบอย่างในทุกด้าน ลองไปอ่าน


                                                        {   28   }
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37