Page 133 - sittichok
P. 133
3. ข้อเสนอแนะ
3.1 ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
การสร้างเครื่องตกแต่งฐานผลิตภัณฑ์เซรามิกในครั้งนี้ ผู้วิจัยมีความเห็นว่าลูกกลิ้ง
ไม่จําเป็นต้องเป็นสเตนเลสควรใช้เป็นลูกกลิ้งยางเพราะมีราคาถูกและมีความทนต่อการกัด
กร่อน มีการขึ้นรูปที่สวยกว่าและน้ําหนักน้อยกว่า การใช้อุปกรณ์ที่สามารถขึ้นรูปได้ง่ายกว่า
นี้จะทําให้การใช้ งานมีประสิทธิภาพมากกว่านี้
3.2 ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
ควรลดต้นทุนในการเลือกใช้วัสดุที่มีคุณภาพใกล้เคียงเพื่อให้ต้นทุนมีราคาถูกขึ้น
อีก ทั้งการตรวจวัดควรใช้อุปกรณ์ที่มีมาตรฐานมากกว่านี้ จะทําให้ผลของการตรวจวัด
สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
บรรณานุกรม
กนกพร นฤภัย. “รายงานทางวิชาการ ศูนย์พัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผาภาคเหนือ”.
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, เมษายน 2553. จุมพล คืน
คัก. “ดิน (clay) จังหวัดลําปาง”. กองเศรษฐธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, 2553
หน้า 94-98.
ชนะ กสิภาร์. ความแข็งแรงของวัสดุ, พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอม
เกล้า
พระนครเหนือ, 2553. ชลชฎา ธนทิตย์. “การใช้ดินปืนและเคลือบสุขภัณฑ์
โดยใช้ดินบางชนิดในภาคเหนือ” ปัญหาพิเศษ ชัชวาล พิพิศจันทร์. “การทําผลิตภัณฑ์
เครื่องปั้นดินเผาโดยใช้ดินลําปางและการควบคุม
คุณภาพผลิตภัณฑ์”, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2553. ธานินทร์ ศิลป์จารุ. การ
วิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :
บริษัท วี.อินเตอร์พริ้นท์, 2553
บรรเลง ศรนิล และกิตติ นิงสานนท์, การคํานวณและออกแบบชิ้นส่วนเครื่องกล. พิมพ์ครั้ง
ที่ 2
กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2553. บรรเลง ศรนิล
และประเสริฐ ก๊วยสมบูรณ์, ตารางโลหะ, กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ, 2553.
124