Page 136 - sittichok
P. 136

ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลที่ทําให้ต้อง คํานึงถึงปริมาณการใช้วัสดุฝึกที่ได้รับ ในแต่ละปีการศึกษา

           ให้เกิดประโยชน์ ต่อการฝึกให้มากที่สุด และเพื่อลด ความสูญเสียกับอุปกรณ์ฝึกให้มากที่สุด
           ภาพที่ 2 ปริมาณการใช้ลวดเชื่อมไฟฟ้าในแต่ละปีการศึกษา

           2. วัตถุประสงค์

               2.1 เพื่อพัฒนาเครื่องจ่ายลวดเชื่อมไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ
               2.2 เพื่อประเมินคุณภาพของเครื่องจ่ายลวดเชื่อมไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ โดยวิธี IOC

           3. สมมติฐานในการวิจัย

               3.1 เครื่องจ่ายลวดเชื่อมไฟฟ้าอัตโนมัติ สามารถตรวจวัดความถูกต้องของลวดที่ทําการ
           ทดสอบได้อย่างแม่นยํา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95

               3.2 ความคิดเห็นของผู้ประเมินมีความสอดคล้องในด้านคุณภาพของเครื่องจ่ายลวดเชื่อม

           ไฟฟ้าแบบอัตโนมัติมีค่า IOC ไม่น้อยกว่า 0.5

           4. ขอบเขตการวิจัย
                4.1 เครื่องจ่ายลวดเชื่อมไฟฟ้าสามารถบรรจุเพื่อทําการเบิกจ่ายขนาด 2.6 มิลลิเมตร ได้

           ครั้ง ละ 6 กก.

                 4.2 ใช้ตัวอย่างงานที่ทําการทดสอบ โดยแบ่งเป็นลวดเชื่อมไฟฟ้าจริง 5 ชิ้น และวัสดุ
           คล้าย ลวดเชื่อมไฟฟ้า 5 ชิ้น ครั้งละจํานวน 10 ชิ้น ทดสอบเป็นจํานวน 10 ครั้ง

                 4.3 ใช้ผู้ประเมินที่มีประสบการณ์ในงานที่เกี่ยวกับงานเชื่อมไฟฟ้า งานเครื่องกล และ

           งานอิเล็กทรอนิกส์ ไม่น้อยกว่า 5 ปี จํานวน 11 คน ในจังหวัดลําปาง เชียงใหม่ และพะเยา

                 4.4 ระหว่างเดือนพฤษภาคม 2552 ถึงเดือนพฤษภาคม 2552
           5. ค าจ ากัดความที่ใช้ในการวิจัย

                 5.1 เครื่องจ่ายลวดเชื่อมไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ หมายถึง ที่ทําหน้าที่เบิกจ่ายลวดเชื่อมไฟฟ้า

           ด้โดยการนําลวดเชื่อมไฟฟ้าที่ผ่านการเชื่อมที่มีความยาวที่ 35 ถึง 55 มม. นํามาตรวจสอบ
           ความ เป็นลวดเชื่อมไฟฟ้าพร้อมกับการนําบัตรรหัสที่ถูกบันทึกโดยชุดควบคุมภายในเครื่องจ่าย

           ลวดเชื่อม เฟฟ้าแบบอัตโนมัติ ในการบันทึกสามารถเก็บข้อมูลนักศึกษาได้ครั้งละ 60 คน ซึ่ง

           แต่ละคนสามารถ
















                                                    127
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141