Page 67 - พัฒนาสังและชุมชน
P. 67

62





                                            ตัดสินใจ                           การจัดการ

                          เจาของ                           ลงทุนในธุรกิจ                         ผูจัดการ

                                        ตองการผลกําไร                        ใชทรัพยากรอยางมี
                                                                                ประสิทธิภาพ

                              จากตารางและแผนภาพดังกลาว เจาของธุรกิจในฐานะผูที่ตัดสินใจเลือกลงทุนในธุรกิจ ซึ่ง

                       ตองลงทุนในทรัพยากรตาง ๆ เพื่อมุงหวังผลกําไรจากการลงทุน ผูทําหนาที่นําทรัพยากรตาง ๆ มา
                       จัดการ คือ ผูจัดการ ซึ่งตองรับผิดชอบตอการนําทรัพยากรที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดตอ

                       ธุรกิจ ซึ่งจะทําใหธุรกิจไดรับผลกําไรตามที่คาดหวังของเจาของ

                              ในธุรกิจขนาดใหญการแบงแยกหนาที่ระหวางเจาของและผูจัดการจะมีความชัดเจน แต
                       สําหรับธุรกิจขนาดยอม เจาของมักจะเขาจัดการธุรกิจดวยตนเอง กลาวคือ เปนทั้งผูลงทุนและ

                       ผูจัดการทรัพยากรดวยตนเอง

                              2. การจัดการการตลาด

                              2.1 การกําหนดทิศทางการตลาด
                              เปนการศึกษาตลาดจากปจจัยภายนอกและภายในทําใหผูประกอบการวางแผนการตลาดได

                       อยางมั่นใจและสามารถบอกรายละเอียดในการดําเนินงานไดอยางชัดเจน

                              การวิจัยการตลาดและขอมูลการตลาด
                              การวิจัยการตลาดหรือการศึกษาตลาดจะตองพิจารณาถึงพฤติกรรมผูบริโภค มีขั้นตอนใน

                       การวิจัย ดังนี้

                              1.  การศึกษาโอกาสหรือการศึกษาตลาด ผูประกอบการจะตองศึกษาใน 2 เรื่อง คือ

                       การศึกษาโอกาสทางการตลาด เปนการศึกษาพฤติกรรม ผูบริโภค  และการศึกษาสถานการณทาง
                       การตลาด เปนการศึกษาสิ่งแวดลอมภายในและภายนอกของกิจการ ประกอบดวย

                                     1)  การศึกษาจุดแข็ง เปนการศึกษาถึงขอดีหรือจุดแข็งของสินคาหรือบริการ

                                     2)  การศึกษาจุดออน เปนการศึกษาขอเสียหรือปญหาที่เกิดจากองคประกอบทาง
                       การตลาด

                                     3)  การศึกษาโอกาส เปนการศึกษาขอไดเปรียบหรือสิ่งที่เอื้ออํานวยใหแกกิจการ

                                     4)  การศึกษาอุปสรรค เปนการศึกษาปญหา อุปสรรคที่จะเกิดขึ้น

                              2.  การกําหนดวัตถุประสงคทางการตลาด
                              3.  การเลือกตลาดเปาหมาย

                              4.  การศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72