Page 65 - พัฒนาสังและชุมชน
P. 65

60



                       ความถนัดของแตละบุคคลเพื่อประสิทธิภาพของงาน ทั้งนี้ นายจางจะตองจายเงินเดือน คาจาง คา

                       คอมมิชชั่น และสวัสดิการอื่น ๆ ใหแกพนักงานอยางเหมาะสม
                              สรุป ความสามารถของมนุษยที่ถูกนํามาใชในการผลิต เพื่อทําใหเกิดเปนสินคาหรือบริการ

                       ขึ้นมา แรงงานนับเปนทรัพยากรที่สําคัญที่สุด ถาปราศจากแรงงานและทรัพยากรตาง ๆ ที่กลาว

                       มาแลวทั้งหมด ก็ไมสามารถนําออกมาใชประโยชนไดผลตอบแทนของแรงงานก็คือ คาจาง มาก
                       หรือนอยขึ้นอยูกับความสามารถและชนิดของงานนั้น ๆ


                              ประเภทของแรงงาน

                              ตลาดแรงงานประเทศไทยไดแยกประเภทของแรงงาน ดังนี้

                              1. แรงงานประเภทปญญาชน แรงงานประเภทนี้ ไดแก ผูที่จบการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
                       มีความรูและมีสติปญญาดีแตไมคอยมีฝมือในวิชาชีพ ในแตละปจะมีแรงงานประเภทนี้เขาสู

                       ตลาดแรงงานเพิ่มขึ้น

                              2. แรงงานไรฝมือ แรงงานประเภทนี้ไมคอยมีปญหานักในอาชีพเกษตรกรรมแตกําลังมี
                       ปญหาในดานอุตสาหกรรม ที่ตลาดแรงงานไมตองการเทาที่ควร

                              3.  แรงงานประเภทฝมือ แรงงานประเภทนี้ตองผานการฝกอบรมหรือมีประสบการณ

                       ทํางานมากพอสมควร เชน ชางยนต ชางไม ชางปูน ชางไฟฟา เปนตน
                              4. แรงงานที่ใชความรูความชํานาญพิเศษ แรงงานประเภทนี้จะตองฝกอบรมมาเปนระยะ

                       เวลานานจัดเปนแรงงานที่ยังขาดแคลน ดังนั้น จึงไมมีปญหาการวางงานปจจุบันรัฐบาลกําลังเริ่ม

                       ผลิตแรงงานประเภทนี้ใหเขาสูตลาดแรงงานมากขึ้น เพื่อใหเพียงพอกับความตองการของ
                       ตลาดแรงงาน แรงงานประเภทนี้ ไดแก แพทย วิศวกร สถาปนิก นักวิทยาศาสตร เปนตน


                              ตลาดแรงงาน

                              ตลาดแรงงานในประเทศ แบงไดเปน 4 ภาค คือ
                              1. ตลาดแรงงานภาครัฐ ไดแก แรงงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ เชน กระทรวงตาง ๆ

                       การไฟฟาสวนภูมิภาค องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย เปนตน

                              2. ตลาดแรงงานภาคอุตสาหกรรม ไดแก แรงงานในเมืองที่ประกอบธุรกิจ การผลิต

                       การแปรรูปการผลิต เชน สถานประกอบการ โรงงานตาง ๆ ธุรกิจกอสราง เปนตน
                              3. ตลาดแรงงานภาคเกษตรกรรม ไดแก แรงงานในชนบทที่มีอาชีพทําไร ทํานา ทําสวน

                       และกิจการอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเกษตร จัดเปนแรงงานที่ทํางานไมสม่ําเสมอ อาจมีการวางงานตาม

                       ฤดูกาล หรือมีการทํางานต่ํากวาระดับที่ควรจะเปน เชน ในฤดูฝนเกษตรกรจะทําไร ทํานา มีการใช
                       แรงงานมาก แตพอฤดูแลงหรือหลังเก็บเกี่ยวพืชไรหรือขาวแลวก็จะเกิดการวางงานขึ้น

                              4. ตลาดแรงงานภาคพาณิชยกรรม ไดแก แรงงานที่ประกอบการคา หรือการบริการ เชน

                       การคาขายปลีก-สง การโรงแรม ภัตตาคาร การธนาคาร ธุรกิจทองเที่ยว ธุรกิจสงออก เปนตน
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70