Page 64 - พัฒนาสังและชุมชน
P. 64

59



                       ผลิตภัณฑ เพื่อใหเกิดกลิ่นและรสที่ตองการ ทําลายจุลินทรียที่เปนพิษและทําใหเกิดโรค และเพิ่ม

                       ลงไปเพื่อทําใหผลิตภัณฑมีสีดีขึ้น
                              3. สวนผสมอื่น ๆ

                              เกลือ การเติมเกลือประมาณ 2 - 3 % ของน้ําหนักอาหาร จะชวยทําหนาที่ปองกัน ไมให

                       จุลินทรียอื่น ๆ เจริญได และชวยดึงน้ําและน้ําตาลจากเนื้อ และยังสามารถทําหนาที่เปนสารกันบูดได

                       วัตถุประสงคของการใสเกลือในแหนม คือ ทําใหเกิดรสเค็ม และทําใหแหนมเก็บไวไดนาน ปริมาณ
                       เกลือที่ใสถานอยเกินไป จะทําใหแหนมเนาเสียได และถาใสเกลือมากเกินไปแหนมที่ไดจะมีรส

                       เปรี้ยวนอยกวารสเค็ม

                              ขาว ขาวที่ใสลงในแหนมเปนขาวที่ผานการหุงตมจนสุกแลวใชไดทั้งขาวเจา และขาวเหนียว

                       การใสขาวลงไปก็เพื่อเปนแหลงคารโบไฮเดรตแกแบคทีเรียที่สรางกรดแลคติก ซึ่งเปนตัวที่
                       ทําใหแหนมมีรสเปรี้ยว

                              กระเทียม ตามปกติมักจะบดกระเทียมใหละเอียดกอนแลวจึงใสลงในผลิตภัณฑ การใส

                       กระเทียมจะใหผลทั้งในแงเพิ่มกลิ่นหอมและรสชาติของแหนม และยังชวยเปนสารกันบูดไดดวย
                       โดยจะใสประมาณ 10 % ของน้ําหนักอาหาร

                              พริกขี้หนู  การทําแหนมอาจจะมีการเติมพริกขี้หนูเปนเม็ด ๆ พริกขี้หนูที่เติมนั้น นอกจาก

                       จะใหรสเผ็ดเมื่อบริโภคแลว ยังชวยเพิ่มสีสันที่สวยงามใหกับแหนมอีกดวย

                              วัสดุอุปกรณในการทําแหนม

                              การทําแหนมบริโภคกันเองภายในครัวเรือนไมจําเปน ตองใชวัสดุอุปกรณที่ยุงยาก แตถามี
                       การผลิตเพื่อจําหนายในปริมาณมาก ๆ จะมีอุปกรณชวยทุนแรงในการผลิต ซึ่งอุปกรณตาง ๆ ที่

                       เกี่ยวของกับการทําแหนมมีดังนี้

                              1. เครื่องบดเนื้อ
                              2. เครื่องอัดไส

                              3. เครื่องชั่งชนิดละเอียดและชนิดหยาบ

                              4. อุปกรณเครื่องครัวตาง ๆ ไดแก มีด เขียง ถาด กะละมัง หมอ เตา

                              4. การใชแรงงาน

                              แรงงาน หมายถึง บุคคลที่ผูประกอบการจางมาใหปฏิบัติงานตามความเหมาะสมของงาน
                       และความสามารถของแตละบุคคล ซึ่งมีทั้งแรงงานประเภทที่มีความชํานาญงานหรือแรงงานที่มี

                       ฝมือ แรงงานประเภทไรฝมือที่ตองใชกําลังในการปฏิบัติงาน เชน คนงานแบกหาม และแรงงาน

                       ประเภทวิชาการที่ตองใชมันสมอง เพื่อชวยใหการวางแผน การกําหนดนโยบาย และการ

                       ประเมินผลใหธุรกิจดําเนินไปอยางราบรื่น และประสบความสําเร็จตามแผนที่กําหนดไว ดังนั้น
                       เจาของกิจการหรือผูประกอบการจําเปนจะตองเลือกบุคลากรที่มีความรู ความสามารถมาทํางานตาม
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69