Page 63 - พัฒนาสังและชุมชน
P. 63

58



                       3. การใชวัสดุอุปกรณ

                              เครื่องมือ หมายถึง สิ่งตาง ๆ ที่มนุษยคิดคนขึ้นหรือประดิษฐขึ้นมาใชเพื่อความสะดวก
                       รวดเร็ว ประหยัดเวลาและแรงงาน

                              วัสดุ หมายถึง สิ่งที่ใชแลวสิ้นเปลืองและหมดไป เชน เนื้อ สารใหสี เกลือ ขาว กระเทียม

                       พริกขี้หนู

                              อุปกรณ หมายถึง สิ่งที่ใชแลวยังคงเหลือ สามารถใชไดอีก เชน เครื่องบดเนื้อ เครื่องอัดไส
                       เครื่องชั่งชนิดละเอียดและชนิดหยาบ อุปกรณเครื่องครัวตาง  ๆ ไดแก มีด เขียง ถาด กะละมัง หมอ เตา

                       ยกตัวอยาง การทําแหนม

                              การทําแหนม

                              การที่จะทําแหนมใหมีคุณภาพดี จําเปนตองรูจักเลือกใชวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณตาง ๆ ที่ใช
                       ทําแหนมอยางเหมาะสม ผูบริโภคหรือผูประกอบการเกี่ยวกับการใชเนื้อ เพื่อนําไปแปรรูป

                       ทําผลิตภัณฑแหนมควรจะทราบถึงสิ่งตาง ๆ ที่มีผลตอคุณภาพของผลิตภัณฑแหนมที่ตองการ และ

                       สิ่งสําคัญอันดับแรกที่จะตองคํานึงถึงก็คือ คุณภาพของวัตถุดิบที่จะใช เพราะวาคุณภาพของผลิตภัณฑ
                       ขั้นสุดทายจะดีไปไมไดถาวัตถุดิบคุณภาพดอย ฉะนั้นควรที่จะรูจักกับวัตถุดิบตาง ๆ ในการทําแหนม

                       ไดแก

                              1. เนื้อ หมายถึง เนื้อที่ไดจากสัตวเพื่อนํามาใชเปนอาหาร ซึ่งรวมถึงกลามเนื้อ และอวัยวะ
                       ตาง ๆ เชน ตับ หัวใจ และสวนอื่น ๆ ที่บริโภคได เนื้อจากสัตวชนิดตาง ๆ ไดแก โค กระบือ สุกร

                       แพะ แกะ เปนตน    เนื้อสัตวจะมีสวนประกอบทางเคมีแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับสภาพของสัตว

                       แตละชนิดหรืออายุตางกัน โดยทั่วไปกลามเนื้อของสัตวจะมีสวนประกอบทางเคมี ไดแก น้ํา

                       โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต วิตามิน เอ็นไซม  สี และแรธาตุตาง ๆ เปนตน
                               2. สารใหสี การทําแหนมในระดับชาวบาน  มักมีการเติมดินประสิวลงไปดวยเล็กนอย

                       เพื่อใหเกิดสีแดงสวย โดยปริมาณที่ใชเติมนั้นไมไดมีการชั่ง ตวง วัด ใชประมาณเองตามความชํานาญ

                       ที่ปฏิบัติมา ซึ่งนับวาเปนอันตรายตอผูบริโภค  เพราะสารใหสีดังกลาวจัดเปนวัตถุเจือปนอาหาร

                       พวกไนเตรทและไนไตรท ซึ่งมีกฏหมายควบคุมกําหนดปริมาณการใช โดยอนุญาตใหใชไดไมเกิน
                       200  -  500  มิลลิกรัมตออาหาร 1  กิโลกรัม ซึ่งตองคํานวณในรูปโซเดียมไนเตรท  และโซเดียม

                       ไนไตรทตามลําดับ  ปจจุบันการใชไนเตรทและไนไตรท ผสมกับอาหารมีวัตถุประสงค 3 ประการ คือ

                              2.1 เพื่อชวยใหอาหารโดยเฉพาะเนื้อสัตวมีสีแดงคงทน ไมเสื่อมสลายไป ขณะหุงตม
                              2.2 ทําใหอาหารมีรสชาติและกลิ่นเฉพาะ

                              2.3 ทําใหเก็บอาหารไวไดนาน ไนเตรท ไนไตรท จะทําหนาที่เปนสารกันเสีย ปองกันการ

                       เจริญเติบโตของจุลินทรีย โดยเฉพาะพวกที่ทําหนาที่ใหเกิดการบูด และพวกที่สรางสารพิษ สารใหสีที่
                       ขอแนะนําใหใช คือ ผงเพรก  ผงเพรกเปนสารเคมีพวกสารประกอบไนเตรทไนไตรท ใชใสลง
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68