Page 14 - 16_การรกษาความปลอดภย_Neat
P. 14

๗



                            ò. ÍØ»¹ÔÊÑ·Õè໚¹¨Ø´Í‹Í¹¨¹½†ÒÂμ碌ÒÁࢌÒÁÒ㪌áÊǧ»ÃÐ⪹
                                 ๒.๑  ความเชื่อถือไววางใจในผูใกลชิดหรือผูที่มีคุณสมบัตินาเชื่อถือ จนทําใหไมเกิด

                 ความรูสึกวาสามารถเปดเผยใหไดทราบถึงสิ่งที่เปนความลับหรือสิ่งที่ยังไมถึงกําหนดเวลาจะตองเปดเผย

                 ความลับของทางราชการ
                                 ๒.๒  ความภาคภูมิใจในการปฏิบัติงานของตนหรือสรางความประทับใจใหกับผูอื่น
                                 ๒.๓  มีอุปนิสัยเปนปมเขื่อง และตองการแสดงใหผูอื่นไดรับทราบวา ตนไดรับ

                 ความไววางใจใหรับรูหรือเขาถึงแหลงขอมูลขาวสารที่สําคัญ หรือเขาถึงมากกวาขาวสารที่ปรากฏอยู
                 โดยทั่วไป

                                 ๒.๔  ความมุงมั่นตอการปฏิบัติงานจนผิดกาลเทศะ เกิดจากความตองการปฏิบัติงาน
                 ใหไดผลดีที่สุดเทาที่กระทําได  จนไมคํานึงถึงความเหมาะสมของบุคคลที่เขามาเกี่ยวของกับงาน  หรือ

                 เวลาที่สมควรที่จะปฏิบัติงาน หรือสถานที่ที่เหมาะสมแกการปฏิบัติงานนั้นๆ
                                 ๒.๕  ความเห็นแกได รับสินบน เพื่อนําไปใชจายตามอุปนิสัยชอบความหรูหรา

                 ฟุมเฟอยเกินฐานะความเปนอยู
                            ó. à¡Ô´¨Ò¡ÊÀÒ¾¤ÇÒÁจํา໚¹·Ò§Êѧ¤Á

                                 ๓.๑  ภาระหนี้สิน
                                 ๓.๒  ถูกชักจูง เนื่องจากมีทัศนคติขัดแยงทางการเมือง  หรือขาดความเชื่อมั่นในหลัก

                 ศาสนา หรือสถาบันพระมหากษัตริย
                                 ๓.๓  กระทําดวยการยึดมั่นตามอุดมการณ
                            ô. ÊÀÒÇзҧ¨ÔμäÁ‹»¡μÔ

                                 ๔.๑  ตองการทาทายสังคม

                                 ๔.๒  กระทําเพื่อแกแคนครอบครัว


                 ¡Òû¯ÔºÑμÔà¡ÕèÂǡѺ¡ÒÃÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀѺؤ¤Å

                            ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๒

                 กําหนดใหหัวหนาหนวยงานของรัฐจะตองดําเนินการรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับบุคคล สามารถสง
                 ใหผูรับมอบหนาที่ดําเนินการแทน หรือเจาหนาที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัยได แตถาไมมีก็ขึ้น
                 อยูกับการพิจารณาของหัวหนาหนวยงาน

                            วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยบุคคลภายในหนวยงานของรัฐ
                            ๑.  การตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคล

                            ๒.  การรับรองความไววางใจ
                            ๓.  การทะเบียนความไววางใจ

                            ๔.  การอบรมเรื่องการรักษาความปลอดภัย
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19