Page 16 - 16_การรกษาความปลอดภย_Neat
P. 16

๙




                            ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรักษาความปลอดภัยแหงชาติ พ.ศ.๒๕๕๒
                 กําหนดใหหนวยงานของรัฐดําเนินการตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคล  ซึ่งแบงออกเปน ๒ สวน

                 ไดแก
                            ๑.  การตรวจสอบประวัติและพฤติการณบุคคลเบื้องตน

                            ๒.  การตรวจสอบประวัติและพฤติการณโดยละเอียด


                 ¡ÒÃμÃǨÊͺ»ÃÐÇÑμÔáÅоÄμÔ¡ÒóºØ¤¤Åàº×éÍ§μŒ¹

                            ๑.  หัวหนาหนวยงานควรจัดใหมีการตรวจสอบประวัติและพฤติการณเบื้องตน สําหรับ

                 ผูที่จะไดรับการบรรจุเขารับราชการ หรือรับโอน หรือวาจางใหมาปฏิบัติงานไดเอง ตามขั้นตอนดังนี้
                                 ๑.๑  ตรวจสอบคุณสมบัติเบื้องตนครบถวนตามกฎหมายหรือขอบังคับ จากนั้นหนวยงาน

                 ทําหนังสือถึงหัวหนาสถานีตํารวจนครบาลหรือหัวหนาสถานีตํารวจภูธรที่ผูถูกตรวจสอบประวัติและ
                 พฤติการณบุคคลมีภูมิลําเนาอยู เพื่อพิมพลายนิ้วมือสงใหกองทะเบียนประวัติอาชญากร สํานักงาน
                 พิสูจนหลักฐานตํารวจ สํานักงานตํารวจแหงชาติ ตรวจสอบพิมพลายนิ้วมือและประวัติอาชญากร

                                 ๑.๒  จัดใหมีการกรอกแบบประวัติบุคคล/แบบ รปภ.๑ (เขียนดวยลายมือตัวบรรจง)
                 โดยมีเจาหนาที่ควบคุมการรักษาความปลอดภัยประจําหนวยงานหรือผูที่ไดรับมอบหมายควบคุม

                 ดูแล เพื่อใหการกรอกขอมูลครบถวนสมบูรณ หากเจาของประวัติกรอกแบบ รปภ.๑ แสดงอาการขัดแยง
                 เชน  การอางเรื่องสิทธิสวนบุคคล  ไมกรอกขอมูลใหครบถวน  และไมสามารถชี้แจงเหตุผลได

                 อยางชัดเจน ใหผูควบคุมการกรอกบันทึกความเห็นเพิ่มเติมไวที่แบบ รปภ.๒
                                 ๑.๓  กรณีที่พบพิรุธหรือขอสงสัยเกี่ยวกับประวัติของผูที่รับเขาปฏิบัติงาน สามารถ

                 สงใหองคการรักษาความปลอดภัยตรวจสอบประวัติโดยละเอียดได ซึ่งเมื่อดําเนินการแลวเสร็จองคการ
                 รักษาความปลอดภัย จะแจงผลใหทราบตอไป

                                 ๑.๔  กรณีจําเปนเรงดวน สามารถบรรจุหรือวาจางกอนที่จะรับผลการตรวจสอบ
                 ประวัติ แตตองมีเงื่อนไขวา ถาผลการตรวจสอบประวัติไมเหมาะสม สามารถสั่งเลิกบรรจุหรือเลิกจางได

                            ๒.  สําหรับผูที่ไดรับความไววางใจใหเขาถึงชั้นความลับ ถาจําเปนที่ตองใหผูไดรับการบรรจุ
                 ใหมเขาถึงชั้นความลับ ก็สามารถตรวจสอบพรอมกันในคราวเดียวกัน

                            ๓.  สําหรับผูที่โอนมาจากหนวยงานอื่น ตองกรอกแบบ รปภ.๑ พรอมทําการตรวจสอบ
                 ประวัติใหม

                            ๔.  เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขอมูลประวัติ ที่เขียนไวในแบบ รปภ.๑ ใหเจาของประวัติ
                 กรอกขอมูลที่เปลี่ยนแปลงใน แบบบันทึกการเปลี่ยนแปลงประวัติบุคคล (แบบ รปภ.๒) และเจาหนาที่
                 ควบคุมการรักษาความปลอดภัย  ตรวจสอบความถูกตองและลงชื่อรับรอง  เพื่อความถูกตอง

                 ตามการแจงของเจาของประวัติ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21