Page 48 - PIMS_Corporate Standard
P. 48
B2.2.1 ก�รกำ�หนดท�งเลือกต่�งๆ (Generate alternatives)
องค์กรต้องกำ�หนดท�งเลือกในก�รพัฒน�โครงก�รให้ครอบคลุมทุกมิติ ทุกท�งเลือก และทุกโอก�สที่เป็นไปได้ เพ่อให้เป็นไปต�ม
ื
วัตถุประสงค์ของธุรกิจ
B2.2.2 ก�รว�งกรอบเบื้องต้นของท�งเลือกต่�งๆ (Development of alternatives)
องค์กรต้องทำ�ก�รศึกษ� กลั่นกรอง และวิเคร�ะห์ท�งเลือกต่�งๆ เพื่อพิสูจน์หรือตัดสินว่�ควรเลือกแนวท�งใดในก�รพัฒน�โครงก�ร โดยคำ�นึงถึง
B2.2.2.1 ก�รออกแบบต�มแนวคิด (Conceptual designs) ที่เป็นไปได้
B2.2.2.2 ก�รตรวจสอบ Conceptual designs ให้มั่นใจว่�ส�ม�รถบรรลุวัตถุประสงค์และข้อกำ�หนดท�งเทคนิคที่กำ�หนดไว้
B2.2.2.3 ก�รประเมินผลลัพธ์ที่ค�ดว่�จะได้รับจ�ก Conceptual designs ทั้งหมด ตลอดอ�ยุก�รใช้ง�นของ Asset ตั้งแต่ออกแบบ
ื
จนยกเลิกก�รใช้ง�น / Decommissioning / ร้อถอน คืนพื้นที่ โดยควรใช้ข้อมูลจ�กแหล่งภ�ยนอกที่เป็นม�ตรฐ�น
ในก�รประเมิน ทั้งน้ควรประเมินงบลงทุนและค�ใช้จ่�ยในก�รปฏิบัติง�นตลอดอ�ยุก�รใช้ง�นของ Asset ที่โครงก�รจะส่งมอบ
ี
่
โดยเปรียบเทียบกับโครงก�รก่อนหน้�ด้วย
B2.2.3 ก�รเลือกท�งเลือกที่เหม�ะสม
องค์กรต้องมีเกณฑ์ / กระบวนก�ร / แนวคิดในก�รเลือกท�งเลือกที่เหม�ะสมที่สุดในก�รพัฒน�โครงก�ร แล้วปฏิบัติต�มกระบวนก�รเลือก
ต�มที่กำ�หนดไว้ ซึ่งท�งเลือกที่เหม�ะสมที่สุดจะถูกพัฒน�ต่อไปเป็นก�รออกแบบขั้นต้น (Basic Engineering Design) หรือใช้เป็นจุดเริ่มต้น
ในก�รออกแบบท�งวิศวกรรมในร�ยละเอียดจนส�ม�รถดำ�เนินก�รก่อสร้�งได้ในขั้นต้น (Front End Engineering and Design: FEED)
ทั้งนี้ต้องคำ�นึงถึงต้นทุนของโครงก�รประเภทที่มีมูลค่�สูงหรือเป็นปัจจัยสำ�คัญที่กำ�หนดคว�มสำ�เร็จของโครงก�ร (Key Success Factor)
อ�ทิ ที่ดิน, สิทธิบัตร, ทรัพย์สินท�งปัญญ�, ใบอนุญ�ต, License to operate จ�กสังคมชุมชน โดยเฉพ�ะก�รจัดก�รด้�นที่ดิน
(Land Acquisition) ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อชุมชนรอบโครงก�ร ทั้งในช่วงก่อสร้�งและช่วงดำ�เนินธุรกิจ
B2.3 ก�รกำ�หนดและพัฒน�แผนง�น (Define & Develop)
องค์กรต้องกำ�หนด ออกแบบ ร�ยละเอียดท�งเทคนิคของท�งเลือกที่ดีที่สุดทั้งในเชิงเทคนิคและเชิงพ�ณิชย์ พร้อมทั้งพัฒน�แผนก�รดำ�เนินโครงก�ร
อย่�งละเอียด เพื่อยืนยันต้นทุนของโครงก�รว�ส�ม�รถตอบสนองเป้�หม�ยผลลัพธ์ท�งธุรกิจได้ ก่อนที่จะขออนุมัติทรัพย�กรจ�กองค์กร
่
เพื่อดำ�เนินโครงก�รให้สำ�เร็จต่อไป
B2.3.1 ก�รออกแบบท�งวิศวกรรม (Engineering Design)
องค์กรต้องออกแบบท�งวิศวกรรมเบื้องต้น (Basic Engineering Design) หรือดำ�เนินก�รออกแบบท�งวิศวกรรมในร�ยละเอียดจนส�ม�รถ
้
ั
ดำ�เนินก�รก่อสร�งได้ในข้นต้น (Front End Engineering and Design: FEED) จนทำ�ให้ม่นใจว�ต้นทุนที่เก่ยวข้องจ�กแนวคิดที่เลือกส�ม�รถ
่
ั
ี
ดำ�เนินก�รได้จริง ไม่พบประเด็นปัญห�ในก�รก่อสร้�ง ก�รปฏิบัติก�ร และก�รบำ�รุงรักษ� ก่อนที่จะทำ�ก�รขออนุมัติเงินลงทุนเพื่อเริ่มง�น
จัดห�ผู้ค้� / ผู้รับเหม�ง�นวิศวกรรม จัดห� และก่อสร้�ง (EPC) โดย Basic Engineering Design / FEED โดยคำ�นึงถึง
B2.3.1.1 ร�ยละเอียดของวิศวกรรมกระบวนก�รผลิต
B2.3.1.2 ร�ยก�รอุปกรณ์หลักและก�รประม�ณก�รวัสดุ
B2.3.1.3 ก�รประเมินคว�มส�ม�รถในก�รก่อสร้�ง โดยในก�รออกแบบควรคำ�นึงถึงคว�มส�ม�รถของผู้รับเหม�, ต้นทุน, เทคโนโลยี,
Licensor และข้อที่ต้องคำ�นึงถึงต่�งๆ ในขั้นตอนก�รก่อสร้�ง
B2.3.1.4 ก�รประเมินคว�มพร้อมใช้ง�น (Availability) ของเครื่องจักรอุปกรณ์ต่�งๆ
48