Page 31 - 21-พัฒน์ธนัท ธนาพรรณรัตน์
P. 31

การใช้คอมพิวเตอร์ในทฤษฎีการเรียนรู้
           จากทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมนิยม กลุ่มพุทธินิยม และกลุ่มสร้างสรรค์นิยม ทั้งในเชิงความ

         รู้ความเข้าใจและเชิงสังคม  ที่มีความเกี่ยวโยงกับเทคโนโลยีการศึกษาทำาให้เห็นได้ว่า  คอมพิวเตอร์เป็น
         เครื่องมือที่สามารถตอบสนองการเรียนรู้ตามหลักทฤษฎีเหล่านั้นได้อย่าง  แนวทางการใช้คอมพิวเตอร์
         เป็นเครื่องมือในการเรียนการสอนปัจจุบันค่อนข้างจะมีแนว  เปลี่ยนจากสภาพแวดล้อมลักษณะบุคคล

         เดียวเป็นศูนย์กลาง  (individual-centered  environms!  มาเป็นสภาพแวดล้อมเชิงสังคม  (social-
         ly-oriented  environments)  และจากเครื่องมือว  เปลี่ยนมาเป็นเครื่องมืออเนกประสงค์ที่ใช้งานได้

         หลายประเภท (Chee and Wong, eds. 2 ตัวอย่างเช่น แต่เดิมมักมีการใช้บทเรียนซีเอไอประเภท
         ทบทวน การฝึกหัด การจำาลอง ฯลฯ เรียนรายบุคคลเป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่ปัจจุบันจะใช้คอมพิวเตอร์
         เป็นเครื่องมือในการสื่อสารหรือ  เพื่อเรียนรู้ร่วมกันกับผู้เรียนอื่นๆ  ทั้งในสถาบันเดียวกันหรือสถาบัน

         อื่นทั้งในประเทศและทวเล็ก  นอกจากนี้  การใช้บทเรียนซีเอไอเหล่านั้นจะปิดกั้นอยู่ระหว่างผู้เรียนกับ
         บทเรียนโดยผู้เรียนจะ  เรียนรู้อยู่เพียงภายในขอบข่ายเนื้อหาที่กำาหนดไว้เท่านั้น  แต่ในทางตรงข้าม

         หากใช้ซอฟต์แวร์ท  เอื้อต่อสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ร่วมกันได้  เช่น  การใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคำา
         และซอฟต์แวร์  กราฟิก  ย่อมเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างสรรค์ผลงานใหม่ร่วมกัน  หรือการสร้างเนื้อหา
         บทเรียนใน  ลักษณะสื่อหลายมิติและมีการเชื่อมโยงกับเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ตจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียน

         ค้นคว้า  ข้อมูลเพิ่มเติมจากเนื้อหาที่เรียนได้โดยสะดวก  ดังนั้น  การใช้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจึงเปิด
         กว้าง  มากขึ้นทั้งในรูปแบบการใช้งานและผนวกกับการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อสามารถตอบสนอง

         กับ การเรียนรู้ตามหลักทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพดังสรุปได้ดังนี้






                                                                              คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา  31
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36