Page 64 - chewa
P. 64
62 รายงานประจำาปี 2560
นอกจากนี้ คณะกรรมการยังมีขอบเขตหน้าที่ในการก�ากับดูแลให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์ และ
ตลาดหลักทรัพย์ ข้อก�าหนดของตลาดหลักทรัพย์ อาทิ การท�ารายการเกี่ยวโยงกันการได้มาหรือจ�าหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินตาม
กฎเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรือตามประกาศของคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ
ก�รประชุมของคณะกรรมก�รบริษัท
คณะกรรมการบริษัทต้องประชุมกันอย่างน้อยไตรมาสละครั้งโดยต้องมีการก�าหนดวันประชุมไว้ล่วงหน้า และหากมีความ
จ�าเป็น อาจจัดให้มีการประชุมเป็นกรณีพิเศษได้
1. ว�ระก�รประชุม
ในการประชุมทุกครั้ง กรรมการผู้จัดการ โดยการหารือร่วมกับประธานคณะกรรมการบริษัท จะร่วมกันพิจารณา ก�าหนด
วาระการประชุมเป็นการล่วงหน้า ทั้งนี้ เลขานุการบริษัทมีหน้าที่จัดส่งเอกสารต่างๆ ที่ใช้ประกอบการประชุม ครั้งนั้นๆ ไปยัง
กรรมการแต่ละท่านล่วงหน้าไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนวันประชุม เพื่อให้กรรมการมีเวลาพิจารณาเรื่องต่างๆ ที่อยู่ในวาระการประชุม
หรือร้องขอเอกสารประกอบการประชุมเพิ่มเติมได้ อย่างไรก็ดี หากมีความจ�าเป็นเร่งด่วนเพื่อรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของ
บริษัทฯ อาจมีการเรียกประชุมด้วยวิธีอื่นและมีการจัดส่งเอกสารประกอบการประชุมไปยังกรรมการล่วงหน้าน้อยกว่าเจ็ดวันได้
2. คว�มถี่ในก�รจัดก�รประชุม
(ก) คณะกรรมการบริษัทต้องประชุมกันอย่างน้อยสี่ครั้งต่อปี
(ข) ประธานคณะกรรมการอาจเรียกประชุมคณะกรรมการบริษัทเป็นกรณีพิเศษด้วยตนเอง หรือโดยได้รับการร้องขอจาก
กรรมการท่านหนึ่งท่านใดในคณะกรรมการก็ได้
3. ก�รเข้�ประชุม องค์ประชุม และก�รออกเสียง
เพื่อให้การประชุมคณะกรรมการบริษัทมีกรรมการเข้าร่วมประชุมมากที่สุด บริษัทฯ จะส่งแจ้งตารางการประชุมคณะกรรมการ
บริษัทของปีถัดไปให้กรรมการแต่ละท่านทราบล่วงหน้าในช่วงเดือนมกราคมของแต่ละปี ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทอาจจะมีการ
ประชุมครั้งพิเศษในกรณีที่จะต้องมีการพิจารณาเรื่องที่มีความส�าคัญเร่งด่วนในการประชุมคณะกรรมการ ต้องมีกรรมการมาประชุม
ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจ�านวนกรรมการทั้งหมดจึงจะครบเป็นองค์ประชุม การออกเสียงในการประชุมคณะกรรมการให้ถือเสียง
ข้างมากของกรรมการที่เข้าร่วมประชุม หากกรรมการท่านใดมีส่วนได้เสียในวาระการประชุมเรื่องใด กรรมการท่านนั้นไม่มีสิทธิ
ออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้นการเข้าร่วมประชุมและการมีกิจกรรมร่วมกันกับบริษัทฯ ถือว่าเป็นหน้าที่ส�าคัญของกรรมการบริษัท
เพื่อรับทราบและร่วมกันตัดสินใจในการด�าเนินธุรกิจ ในการประชุมทุกครั้ง คณะกรรมการบริษัทจะให้ความส�าคัญกับความขัดแย้ง
ทางด้านผลประโยชน์ การเปิดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และโปร่งใส ในกรณีที่กรรมการบริษัทคนใดคนหนึ่งมีส่วนได้เสีย
กับผลประโยชน์ในเรื่องที่มีการพิจารณากรรมการที่มีส่วนได้เสียจะไม่เข้าร่วมประชุมหรือสละสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น
และการประชุมแต่ละครั้งใช้เวลาประมาณ 3- 4 ชั่วโมง
อนึ่ง ภายหลังจากการประชุมสิ้นสุดลง เลขานุการบริษัทจะรับผิดชอบในการจัดท�ารายงานการประชุม และน�าเสนอให้
กรรมการบริษัทและผู้ที่เกี่ยวข้องได้แก้ไขเพิ่มเติมรายงานการประชุมให้มีความถูกต้อง ครบถ้วนตามที่ประชุม และเมื่อมีการ
แก้ไขแล้ว เลขานุการบริษัทจะน�ารายงานการประชุมดังกล่าวให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทรับรองในครั้งถัดไป และให้ประธาน
กรรมการบริษัทซึ่งท�าหน้าที่ประธานที่ประชุมลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง ทั้งนี้ รายงานการประชุมที่ได้รับการรับรองและลง
นามแล้ว จะถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบทั้งในรูปแบบของเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมกับเอกสารประกอบวาระการประชุมต่างๆ
เพื่อความสะดวกในการอ้างอิง