Page 40 - บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558
P. 40

อยูรวมกับผูติดสุราอยางมีความสุข
 ยาบาและเครื่องดื่มแอลกอฮอลทุกชนิด เพราะจะทําใหผูปวยเกิดอาการทางจิต ญาติตองดูแลอยางใกลชิดหาก

 พบวาผูปวยนอนไมหลับ หงุดหงิด มีความคิดแปลกๆ กาวราว วิตกกังวล หวาดกลัว ฉุนเฉียวงาย ขอใหรีบพา        ทัศวรรณ  ปญญารักษา
 ไปพบแพทย
                                การติดสุรานั้นเปนอาการที่ตองไดรับการรักษาโดยปกติแลวผูที่ติดสุรามักมีพฤติกรรมการติด
       ทุกๆ ครั้งที่มีขาวผูปวยจิตเวชไปกอเหตุ!!! ผูคนในสังคมรูสึกหวาดกลัวผูตองหาในรางของ  เมื่อเลิกไดก็จะกลับไปดื่มซ้ําอีกเปนแบบนี้ซ้ําแลวซ้ําเลา สมาชิกในครอบครัวและผูใกลชิดจําเปนตองมีความ

 ผูปวยจิตเวช แตอีกมุมหนึ่งของสังคมสะทอนใหเห็นวา การดูแลผูปวยจิตเวชใหทุเลาเบาบางลง!! คงไมใช  เขาใจในการชวยเหลือและการอยูรวมกับผูติดสุราได จะเปนการชวยใหเขาหายจากอาการติดสุราได โดยลอง
 เปนหนาที่ของใครบางคนเทานั้น!!! ทุกๆ คนสามารถชวยพวกเคาไดเพียงใสใจดูแลคนใกลชิดทุกครั้งที่ทุกขใจ   ปฏิบัติตามวิธีที่จะแนะนําดังนี้

 หรือเลือกที่จะเดินเขามาที่โรงพยาบาลจิตเวชใกลบาน
                                อยางแรกที่ตองเรียนรูคือ “เรียนรู” อาการที่เกิดขึ้นกับผูติดสุราเพื่อใหเกิดการแสวงหาสิ่งที่
       สถาบันจิตเวชสมเด็จเจาพระยา หรือหลังคาแดงที่หลายคนคุนเคย ก็พรอมที่จะชวยใหคลาย  จําเปนในการดํารงชีวิต ซึ่งเมื่อคนเราไดรับการตอบสนองดังกลาวแลวก็จะเกิดความสุขขึ้นเชนเดียวกันกับการ
 ทุกขใจลงได จากคําบอกเลาของผูปวยและญาติผูปวยที่ไดแวะเวียนเขามาที่บานหลังนี้ตามที่นัดหมาย เคารูสึก  ดื่มสุราจะเปนการกระตุนใหสมองหลั่งสารที่ใหความรูสึกเปนสุข ทําใหผูที่ติดสุรานั้นเกิดความเคยชิน และ

 อบอุนทุกๆ ครั้งที่ไดมาเยือนบานหลังนี้ ที่ๆ เคยเปนที่พักใจ หลอหลอมใจใหเข็มแข็งมีพลังที่จะกาวเดินออกไป  ตองการหาสุรามาดื่มมากขึ้นอีก จึงเกิดอาการติดสุราในที่สุด และไมสามารถควบคุมการดื่มของตนเองได หาก
 เพื่อทําประโยชนใหสังคม!!! มิใชเปนภาระของใครหลายๆ คนอีกแลว   มีการขาดสุราอาจทําใหเกิดอาการมือสั่น ใจสั่น นอนไมหลับ เปนตน

                                ดังนั้นผูที่อยูรวมกับผูติดสุราตองเขาใจวา ผูติดสุรานั้นเปนผูปวยที่ตองการไดรับการชวยเหลือ


                                เมื่อรูแลววาผูติดสุราคือผูปวยที่ตองไดรับการชวยเหลือ สมาชิกในครอบครัวจะตอง
                 “แนะนํา” ใหผูติดสุราเขารับการบําบัดรักษา โดยใหผูติดสุราไดตัดสินใจเอง เราไมควรบังคับหรือแสดงความไม

                 พอใจหากผูติดสุราเริ่มใหความสนใจในการเลิกสุราแตไมเขารับการบําบัดสักที


                                เมื่อผูติดสุรายอมเขารับการบําบัดแลว เราไมควรคาดหวังวาเขาจะเลิกสุราไดเต็มรอย เพราะ
                 อาการติดสุรานั้นเปนโรคเรื้อรังที่สามารถกลับไปดื่มซ้ําไดอีก สมาชิกในครอบครัวจึงตองคอย “ใหกําลังใจ”

                 แสดงความเห็นใจกับผูติดสุราอยางนุมนวล และอยาหยุดชวยเหลือผูติดสุรา เพราะการจะเลิกสุราไดนั้นจะตอง
                 อาศัยแรงบันดาลใจ และกําลังใจจากครอบครัวและผูที่ใกลชิดดวย

                                นอกจากนั้นแลว เราควร “สรางความรับผิดชอบและปรับความคิด” ของผูติดสุรา สนับสนุน

                 กิจกรรมที่เขาใหความสนใจเพื่อไมใหเขาคิดแตเรื่องการดื่มสุรา

                                สิ่งที่สําคัญอีกอยางหนึ่งคือ “อยาใชความรุนแรงในทุกประเภท” ไมวาจะเปนการพูดขมขู
                 การบน การตําหนิ การดาวาสั่งสอน สิ่งเหลานี้ลวนทําใหเกิดการขัดเคืองใจและการตอตานในที่สุด ยิ่งไปกวา

                 นั้นแลว นี่อาจเปนสาเหตุในการกระตุนใหเขากลับไปดื่มซ้ําอีกดวย

                                สมาชิกในครอบครัวจะตองพูดคุยกันใหเขาใจในการใหการดูแลผูติดสุรา โดยเฉพาะการ
                 พูดคุยกับลูกใหเขาใจอาการของการติดสุรา ไมควรพูดใหเกิดความเกลียดชัง หรือความรูสึกที่ไมดีตอผูติดสุรา

                 นอกจากนี้แลว ควร “ปลอยวาง” จากพฤติกรรมการติดสุราของผูติดสุรา ไมควรเครงครัดมากจนเกินไป และ
                 อยาลืมวาผูที่อยูรวมกับผูติดสุราควรมีความอดทนและเขาใจในพฤติกรรมตางๆ ที่เกิดขึ้น มองในแงดีเสมอ ให

                 ความรัก และมีการรวมมืออยางจริงจัง และจริงใจระหวางผูติดสุราและสมาชิกในครอบครัว

                                การเลิกสุรานั้นยาก แตสามารถทําได เพียงแตการที่จะอยูรวมกับผูติดสุราไดนั้นจะตองมี
                 ความเขาใจ เห็นอกเห็นใจ จึงจะสามารถอยูรวมกันไดอยางมีความสุข




                                                                                  บทความความรู้สุขภาพจิต     33

                                      จาก การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558
   35   36   37   38   39   40   41   42