Page 38 - บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558
P. 38
"สุขอยางสูงวัย ... กายใจเปนสุข" หลังคาแดง...บานนี้มีรัก จิตตกปวยใจ แวะมาเยียวยา
สรศักดิ์ นาคสุขมูล ชนสินันท ธนาพัฒนธนนท
ผูสูงอายุ บุคคลผูมากดวยประสบการณ ทั้งความรูความสามารถที่ควรคาแกการเคารพนับถือ ผมเผารกรุงรัง เดินพูดอยูคนเดียว เดี๋ยวยิ้ม เดี๋ยวรองไห!!! นี่ไมใชฉากหนึ่งในละครภาคค่ํา
ยกยอง ใหเกียรติและไดรับการดูแล การเปลี่ยนแปลงสูวัยสูงอายุ นับเปนอีกชวงชีวิตหนึ่งที่บุคคลตองเผชิญกับ ที่หลายคนติดตามชมแนๆ แตนี่คือเรื่องจริงของใครหลายๆ คนที่ตองกลายเปนผูปวยจิตเวช...? ทั้งที่ตัวเขาหรือ
การเปลี่ยนแปลงทั้งดานรางกายและจิตใจไปพรอมๆกัน ดานรางกายเปนการเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมถอยลง เธออาจจะไมรับรูหรือทุกขรอนใดๆ เลย แตความเจ็บปวยทางใจเปนทุกขอันยิ่งใหญของคนในครอบครัว...?
เชน สายตาฝาฟาง หูตึง หรือภาวะทางสมอง เปนตน สวนการเปลี่ยนแปลงดานจิตใจ เชน การสูญเสียคนที่รัก อยางที่เห็นเปนขาวคราวใหญโต เพราะจิตปวย แตไมมีใครรู
หรือความรูสึกถูกทอดทิ้งจากลูกหลาน จนกระทั่งบางครั้งผูสูงอายุจําเปนตองดึงภูมิคุมกันทางจิตใจ (defense
mechanism) ออกมาใชไมวาจะเปนการเจ็บปวยเพื่อดึงดูดใหลูกหลานมาดูแลใกลชิด หรือการกลับไปแตงตัว ถาพูดถึงผูปวยโรคจิตเวช หรือที่หลายๆ คนมักจะคุนชินกับคําวา ...บา บางก็เรียก...ไอโรค
สวยงามเหมือนสมัยหนุมสาว เพื่อลดความรูสึกเศรา หดหู และไรคาในตนเอง จิตหรือพวกโรคประสาท แนนอนวา...ใครก็ตามที่ตองอยูใกลกับคนที่ตองสงสัยวา...จะปวย หลายคน
การดึงภูมิคุมกันทางจิตใจออกมาใชนั้นไมใชสัญญาณที่ดี แตการดูแลบุคคลในวัยสูงอายุจาก หวาดกลัว ระแวง และไมอยากอยูใกล แมแตเขาเหลานั้นจะเปนคนหนึ่งในครอบครัวก็ตาม...? มีคนตั้งคําถาม
ลูกหลานตางหากคือสัญญาณอันวิเศษของทานเหลานั้น การดูแลทางรางกายไมวาจะเปนการดูแลเรื่องโรค วาโรคจิตเกิดจากสาเหตุใด...? คําตอบก็อยางที่จิตแพทยหลายๆ ทานไดพูดไปแลว...? แตอีกแงมุมหนึ่งที่คนใน
ประจําตัว การตรวจรางกาย หรือการรับประทานอาหารที่ดีนับวาเปนสิ่งสําคัญแลว แตปฏิเสธไมไดวาการดูแล สังคม หรือครอบครัวควรจะใสใจคือความผิดปกติ หรือสิ่งที่ผิดแปลกไปจากเดิม...ในแตวันนี้ดูผิดๆ เพี้ยนๆ ไป
ดานจิตใจของบุคคลในวัยนี้เปนสิ่งที่สําคัญกวา ความรัก ความเขาใจในการเปลี่ยนแปลง วิธีการดูแล หรือ มากมายนัก
แมกระทั่งการพูดคุย ลวนเปนวิธีงายๆที่ลูกหลานสามารถปฏิบัติได เพื่อลดภาวะซึมเศรา หรืออาการเจ็บปวย เมื่อมีความเครียดเกิดขึ้น!!! แนนอนวิธีการจัดการแกปญหาของแตละคนยอมแตกตางกันไป
ทางดานรางกายที่นับจะเสื่อมโทรมลงไปทุกวัน และยังเปนการเสริมสรางความเขมแข็งในจิตใจ เพิ่มความรูสึก ในขณะที่บางคนเลือกที่จะปรึกษาหารือกับคนใกลชิด แตบางคนก็เลือกที่จะเก็บงําความทุกขใจเหลานั้นเอาไว
เห็นคุณคาในตนเองแกบุคคลผูสูงอายุอีกเชนกัน
เพียงลําพัง!!! และแลวเหตุการณที่ไมคาดฝนก็เกิดขึ้นเมื่อเขาตองกลายเปนผูปวยจิตเวช
การใหความสําคัญ และ ความรวมมือรวมใจ ของสมาชิกทุกคนในครอบครัว คือพลังอัน
ยิ่งใหญในการดําเนินชีวิต และการดํารงอยูอยางมีความสุขของปูชนียบุคคลอันเปนที่รักของบาน แมกไมสีเขียวขจี ประดูลําตนใหญแข็งแรง บรรยากาศชางนารื่นรมย เพลิดเพลินตากับตนไม
นานาพันธุ...หลายคนนึกแปลกใจนี่เหรอโรงพยาบาลบา!!! หรือหลังคาแดง...ไมเห็นจะนากลัวอยางที่คิดไวหรือ
ตามคําบอกเลาเลยแมสักนิด
100 กวาปแลวที่ “หลังคาแดง” ไดทําหนาที่พักใจ คลายทุกขใหคนอยางคลาคล่ําที่ตอง
เจ็บปวยดวยโรคจิต ไมวาจะเปนโรคซึมเศรา โรคไบโพลาร หรืออีกหลายโรคอยางโรคจิตเภท
(Schizophrenia) นพ.สินเงิน สุขสมปอง ผูอํานวยการสถาบันจิตเวชศาสตรเจาพระยา ไดเลาวาโรคจิตเภท
มีสาเหตุเกิดจากหลายปจจัย เชน กรรมพันธุ ความผิดปกติของสมอง ความเครียด หรือการใชสารเสพติด โดย
ผูปวยจะมีอาการรุนแรงคอนขางมากในแงของการรับรูตัวเอง และรับรูสิ่งแวดลอมรอบขาง ความคิดผิดเพี้ยน
จากความเปนจริง เชน มีอาการหลงผิด คิดวาผูอื่นจะมาทําราย คิดวาตนเองสงกระแสจิตได เปนผูวิเศษมี
อิทธิฤทธิ์เหนือคนธรรมดา
จากขอมูลของกรมสุขภาพจิตที่ระบุวา...มีผูปวยดวยโรคจิตเภทถึง 2.6 ลานคนในโลก มีเพียง
ครึ่งหนึ่งของผูปวยจิตเภทที่เขาถึงบริการบําบัดรักษาได สวนใหญเกือบรอยละ 90 ของผูปวยที่อยูในประเทศ
กําลังพัฒนาไมสามารถเขาถึงการบําบัดรักษา จากรายงานจํานวนผูปวยนอกจิตเวชของกรมสุขภาพจิต พบโรค
จิตเภทเปนโรคทางจิตเวชที่พบมากที่สุดเปนอันดับ 1 มีจํานวนมากกวา 1 ใน 3 ของผูปวยนอกจิตเวชทั้งหมด
พบ 388,369 ราย จาก 1,109,183 รายและพบในผูปวยในจิตเวช 20,634 รายจาก 42,861 ราย
โรคจิตเวชเปนโรคที่รักษาได เชนเดียวกับการเจ็บปวยดวยโรคทางกาย ยิ่งเขารับการรักษาแต
เนิ่นๆ ยิ่งดี เมื่อมีอาการดีขึ้นแลวผูปวยตองกินยา เพื่อควบคุมอาการไมใหกําเริบ ผูปวยสามารถใชชีวิตอยูใน
ชุมชนไดตามปกติ แตตองระวังเปนพิเศษคือ ปญหาการขาดยา หรือลดยา รวมถึงการใชสารเสพติด โดยเฉพาะ
บทความความรู้สุขภาพจิต 31
จาก การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558