Page 33 - บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558
P. 33

สองขั้ว...ซอนวิญญาณ                                                                  รวมดวย เชน การเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งเวลาที่เกิดจะเห็นไดชัดเจน เรียกวาเปนตอนอารมณเลยทีเดียว (mood
                                                                                                                                        episode) การเกิดอารมณคลุมคลั่ง (mania) ในเด็กมีจํานวนครั้งที่เกิดนอยกวาในผูใหญ อยางนอยก็สัปดาห
                                                                                                จําป  คําหอมกุล                        ละครั้ง จะเปนชวงที่มีความสุขมากๆ กาวราว หรือมีอารมณโกรธ ซึ่งจะมีอาการอื่นๆ ตามมา เชน ตองการ

                                โรคที่ผูปวยมีอารมณสุดขั้ว ตั้งแตซึมเศราไปถึงคลุมคลั่งสุดๆ จึงเรียกโรคนี้วา “โรคจิตอารมณ         เวลานอนนอย กระปรี้กระเปรา มีความมั่นใจในตัวเองสูงมาก พูดเร็ว คิดหลายๆ เรื่องในขณะเดียวกัน ไมมี
                 คลุมคลั่งและซึมเศรา (manic  Depressive  Disorder)” โรคอารมณสองขั้วเปนโรคที่อันตรายมาก และมี                        สมาธิ หาจุดสนใจไมได ชอบจับอวัยวะเพศตัวเอง ใชภาษาที่หมกมุนเรื่องเพศ และชอบที่จะเขาใกลคนอื่นใน

                 พฤติกรรมที่มีความเสี่ยงที่อาจนําไปสูการฆาตัวตายได สามารถรักษาไดโดยการบําบัดและทานยา                                ลักษณะไปทางเรื่องเพศ มีการกระทําที่ไมเหมาะสม หรือกาวกายตอสังคม

                 อาการคลุมคลั่ง                                                                                                        ยา...อารมณ (mood stabilizer)

                                อาการหงุดหงิด กระวนกระวาย กระฉับกระเฉง ชางพูดมาก บุมบาม ใชจายสุรุยสุราย ชอบ                          1. Lithium (เรียกกันวา Esaklith  หรือ Lithobid)  ซึ่ง  FDA ไดประกาศวาสามารถรักษาไดทั้งอาการ

                 แสดงอํานาจ มีอารมณเคลิ้มสุข                                                                                           ซึมเศรา และคลุมคลั่ง
                                                                                                                                            2. ยากันชัก (Anticonvulsants) ซึ่งใชรักษาโรคลมชัก หรือลมบาหมู สามารถนํามาใชในการควบคุม
                 อารมณซึมเศรา
                                                                                                                                        อารมณไดเชนกัน เชน
                                จะมีการการตรงขามทั้งหมด คือ เสียใจมาก รองไห รูสึกตัวเองไรคา ไมมีพลังงาน ไมมีความ                       2.1 Valproic acid หรือ divalproex sodium (Depalote) ใน FDA กลาววาใชรักษาอาการคลุม
                 ภาคภูมิใจ พอใจ มีปญหาในการนอนหลับ                                                                                     คลั่ง และเปนอีกตัวเลือกหนึ่งแทน lithium แตก็มีขอควรระวังพิเศษในการใชสําหรับเพศหญิง โดยเฉพาะที่


                 ชนิด...สองขั้ว                                                                                                         อายุไมเกิน 20 ป
                                                                                                                                               2.2 Lamotrigine (Lamictal) ใน FDA กลาววาใหใชรักษาอาการซึมเศรา นอกจากนี้ยังมีตัวยาอื่นๆ
                                อาการของโรคอารมณสองขั้วมีหลายชนิด ซึ่งโดยรวมแลวคือ จะมีอาการซึมเศราและคลุม
                 คลั่งตางระดับกันไป ประกอบดวย ไบโพลาร I, ไบโพลาร II, Cyclothymic, ไบโพลารแบบผสม และไบโพลาร                    เชน gabapebtin (Neurontin). Topiramate (Topamax), และ oxcarbaqepine (Trileptal) เปนตน

                 แบบ Rapid-Cycling                                                                                                                 ยา Valproic acid Lamotrigine เปนยาที่ FDA ไดมีคําเตือนเกี่ยวกับการบริโภคไววา อาจไป
                                                                                                                                        เพิ่มความเสี่ยงตอความคิดและพฤติกรรมในการฆาตัวตายได
                                ไบโพลาร I อาการของผูปวยประเภทนี้สาเหตุจากมีอาการคลุมคลั่งอยางหนึ่งเกิดขึ้นในชวงที่
                 มีอารมณรวมกับพฤติกรรมที่ไมปกติซึ่งไปมีผลตอการดําเนินชีวิต

                               ไบโพลาร II ลักษณะอาการคลายกับ ไบโพลาร I แตชวงอารมณระหวางสองขั้วจะมีมากกวา

                 แตก็ยังไมแสดงอาการคลุมคลั่งมาก

                               ไบโพลารแบบ Rapid-Cycling ผูปวยประเภทนี้เคยมีอาการคลุมคลั่ง หรือซึมเศรามากกวา 4
                 ครั้งขึ้นไปในรอบป ซึ่งไบโพลารชนิดนี้พบประมาณ 10-20% ของผูปวย


                                ไบโพลารแบบผสม สวนใหญแลวผูปวยไบโพลารจะมีอารมณสลับกันไประหวางสองขั้วใน
                 เวลาที่ไมปกติ แตไบโพลารชนิดนี้ผูปวยจะเคยมีอาการทั้งคลุมคลั่งและซึมเศราอยางตอเนื่อง หรือติดตอกัน
                 อยางมาก


                                Cyclothymic ผูปวยจะแสดงอาการทางอารมณแบบไบโพลารแตไมมาก บางทีจึงเรียกวา
                 Cyclothymic เพราะอาการนอยกวาโรคอารมณสองขั้วที่สุดขั้วกวา

                 สองขั้ว...เด็กเล็ก...วัยรุน

                                เนื่องจากเด็กมีความเสี่ยงมากที่จะเปนหากคนใกลชิด เชน พอ-แม พี่นอง หรือญาติเปนโรค

                 ดังกลาว ซึ่งพอแมอาจไมเขาใจวาอะไรที่เปนสาเหตุใหลูกมีอาการเชนนี้ ในเด็กเล็กและวัยรุนนั้นอารมณมัก
                 แปรปรวนแบบไมมีเหตุผลไดงายอยูแลว แตในเด็กปวยแบบไบโพลาร อารมณที่เปลี่ยนนี้มักมีอาการอยางอื่น



               26      บทความความรู้สุขภาพจิต

                       จาก การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38