Page 31 - บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558
P. 31

สมอง...ยาเสพติด...โรคจิต เกี่ยวพันกันอยางไร
                                                     สบายดีจะเด็กไทย

                                                                                                                                                                                                                       นันทนา  รัตนากร

                                                                                                                                                       การใชสารเสพติด นอกจากสงผลเกิดปญหาสุขภาพกาย ใจและอารมณของผูเสพแลว ยังสงผล
                                ตัวคุณเตรียมพรอมเขาสู AEC  แลวหรือยัง ตอนคุณพาลูกไปสงที่โรงเรียน ก็จะเห็น                          กระทบตอครอบครัว เปนภัยตอความสงบสุขของสังคม และเปนปญหาระดับชาติ
                 ปรากฏการณที่นอกจากจะเห็นธงชาติไทยผืนใหญ แลวยังจะเห็นธงชาติตางๆในกลุมประเทศอาเซียน ถาไม

                 สังเกตเห็นถือวาเชยมาก เพราะเขารณรงคมามากวา 3 ปแลว ผานสื่อตางๆ                                                                  การติดสารเสพติด เปนกระบวนการตอเนื่องที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะสารเมทแอมเฟตา
                                                                                                                                        มีน ซึ่งมีผลตอสมอง คือ สมองสวนคิด และสมองสวนความรูสึกถูกทําลายอยางถาวร สมองฝอลง และสูญเสียการ
                                เอาละเขาเรื่องเลยแลวกัน คําวา “สบายดี” เปนคําทักทายคลายกับคําวา “สวัสดี” ใน
                 ภาษาไทย หากคุณติดตามนอง ณัชชา ลูกสาวพี่บอบ ก็จะมีประโยคที่ติดปากคือ ดูปากณัชชานะคะ ทั้ง                              ทํางาน ไมสามารถยับยั้งความตองการหรือควบคุมอารมณความรูสึกของตนเองได

                 ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ณัชชาออกเสียงไดอยางชัดเจนกับเจาของภาษา                                                           ปญหาการใชสารเสพติด...รุนแรงแคไหน ?

                                เกิดอะไรขึ้นกับเด็กมหัศจรรยคนนี้ เกิดและโตในเมืองไทย พูดภาษาตางประเทศไดชัด                                          ปญหาการใชสารเสพติดหรือสารเมทแอมเฟตามีน เปนปญหาใหญที่มีการแพรระบาดไปทั่วโลก
                 ปรากฏการณนี้จึงเกิดขึ้นในชวงวัยเด็กเทานั้น ภาษาอังกฤษเรียกวา Golden  Opportunity คือโอกาสทอง                       พบวา ประชากรกวา 35 ลานคนเสพสารนี้ และมีความรุนแรงสูงขึ้นในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต

                 ของการสอนภาษาที่ 2 หรือ 3 ของลูกนอยคุณ มาลองสังเกตกันสมัยเราเด็กๆ ภาษาอังกฤษเราเริ่มตอน ป.5                                          สารกลุมเมทแอมเฟตามีนที่แพรระบาดมากที่สุดมี 4 ลักษณะคือ 1) ชนิดเม็ด หรือ “ยาบา” ซึ่งมี
                 ตอนนั้นเราก็อายุ 10 หรือ 11 ป ถือวาชาไปแลว เมื่อเราอยากใหลูกนอยของคุณ เขาสู AEC อยางมั่นใจ ใหเริ่ม           สารเมทแอมเฟตามีนประมาณ 10-30%  2) ชนิดเกร็ด หรือ “ไอซ” มีสารเมทแอมเฟตามีน ประมาณ 90% 3)

                 ภาษาที่สองพรอมกับเด็กที่เริ่มพูดเลย โอกาสทองของภาษาที่ 2,3 จะอยูในชวง 18 เดือน – 9 ป จะเห็นไดวา                  ชนิดผง และ 4) ชนิดน้ํามันขน
                 รุนคุณพอคุณแมอยางเราภาษาที่ 2 คือภาษาไทย หากเกิดขึ้นที่อีสานภาษาแรกก็คือภาษาอีสาน ดังนั้นอยากให                                  ในประเทศไทย พบวา ผูใช “ยาบา” มีอายุนอยลงในกลุมเยาวชนอายุ 15-19 ป และอายุต่ํากวา

                 ลูกคุณพูดภาษาที่ 2 ไดเลยทันทีนะครับ อยารอใหสายไป
                                                                                                                                        15 ป มีการใช “ไอซ” มากขึ้น ซึ่งความรุนแรงมากกวา “ยาบา” หลายเทา
                                                                                                                                                       การใชเมทแอมเฟตามีน มีความสัมพันธกับการเกิดอาการทางจิต หรือเรียกวาเกิด “ภาวะโรค

                                                                                                                                        รวมจิตเวชสารเสพติด” ซึ่งเมื่อสารดังกลาวผานเขาสูสมอง มีผลทําใหสารสื่อนําประสาท หรือ “สารโดปามีน” ใน
                                                                                                                                        สมองผิดปกติ เกิดอาการทางจิต ถึงแมอาการทางจิตจะหายไปไดหลังหยุดเสพยา แตอาจพัฒนากลายเปนโรคจิต

                                                                                                                                        เวชเรื้อรังได

                                                                                                                                        แลวจะหางไกลจากการเสพยา...ไดอยางไร?


                                                                                                                                                       สิ่งสําคัญคือ การเสริมสรางความเขมแข็งทางใจตั้งแตวัยเด็ก ทั้งในครอบครัว โรงเรียน และ
                                                                                                                                        ชุมชน

                                                                                                                                                       ในครอบครัวทําอะไรไดบาง....มีผลงานวิจัยพบวา เด็กที่มีความเขมแข็งทางใจสวนมากมีความ

                                                                                                                                        ผูกพันใกลชิดกับผูใหญอยางนอยหนึ่งคน ซึ่งไมจําเปนวาตองเปนบิดา มารดา อาจเปนญาติ ครูอาจารย หรือผูนํา
                                                                                                                                        ศาสนาในชุมชน ซึ่งสามารถใหการดูแลที่มั่นคง ใหความรัก ความเอาใจใสที่เหมาะสมและเพียงพอตอความ

                                                                                                                                        ตองการของเด็ก กระตุนใหเด็กคิดอยางอิสระ เปนตัวของตัวเองตามความเหมาะสมกับอายุ

                                                                                                                                                       ในโรงเรียนและชุมชน.... สนับสนุนใหฝกทักษะชีวิต สรางความมั่นใจในตนเอง สรางจิตสํานึก
                                                                                                                                        สาธารณะ ปลูกฝงการทําความดีและบําเพ็ญประโยชนตอชุมชน

                                                                                                                                                      การสรางความตระหนักใหเด็กและเยาวชนมีพลังใจที่เขมแข็ง มีทักษะชีวิตที่ดี แกไขปญหาชีวิตได

                                                                                                                                        โดยไมใชยาเสพติด จะทําใหเติบโตเปนประชากรที่มีคุณภาพตอการพัฒนาประเทศตลอดไป...



               24      บทความความรู้สุขภาพจิต

                       จาก การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36