Page 27 - บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558
P. 27

เรื่องเลา: กรณีศึกษา                                                                                          เลี้ยงลูกอยางไรเสี่ยงตอไอคิวอีคิวต่ํา


                                                                                                 สุดา  ยุทธโท                                                                                                   เบญญาภา  สมลักษณ

                               ผูปวยหลายรายที่มีปญหาซับซอน ควรไดรับการติดตามดูแลตอเนื่องที่บาน  ดั่งเชนผูปวยราย                      การดําเนินชีวิตของครอบครัวและการเลี้ยงดูลูก ในปจจุบันมีแนวโนมที่จะสงผลใหเด็กกลายเปนคนที่มี
                 นี้เปนผูปวยนอก โรงพยาบาลจิตเวชแหงหนึ่ง ผูปวยชื่อนางวี ใจนอย (นามสมมุติ) อายุ 65  ป น้ําหนัก 64                 ไอคิวอีคิวต่ําลงจริงหรือ? ลองคนหาวิธีการเลี้ยงดูของคุณวาเปนแบบนี้หรือเปลา?
                 กิโลกรัม อาชีพวางงาน เชื้อชาติ ไทย การศึกษา ประถม ศาสนาพุทธ สถานภาพ หมาย  บานเดิมอยู จังหวัด

                 ลพบุรี การวินิจฉัยโรค Major Depressive Disorder เปน DM, HT, ไขมันสูง นาน 2 ป รักษาโรงพยาบาล                                 ๑.  เลี้ยงแบบสบายเกินไป จะมีผลทําใหเด็กขาดความอดทน ไมใชความพยายามของตนเอง
                 ทั่วไปแหงหนึ่งในจังหวัดสงขลาสม่ําเสมอ อาชีพรับจางซักผา ตอมาเปนแมบานของโรงพยาบาลแหงหนึ่งใน                      แกปญหาเองไมได เวลาเผชิญกับความลําบากจะยอมแพงายๆ
                 จังหวัดสงขลา วันละ 100 บาท ทําวันเวนวัน  มีลูก 3 คน อยูตางจังหวัด ติดตอลูกสาวได แตลูกสาวไมมาเยี่ยม
                 คิดวาปวยเล็กนอย สามีเสียชีวิตนานแลว จากเรือถูกโจรปลน                                                                     ๒. เลี้ยงแบบไมใหชวยเหลือตนเอง แมแตเรื่องเล็กๆนอยๆ จะทําใหเด็กกลายเปนคนแกปญหาไมเปน
                                                                                                                                        ขาดความสามารถในการปรับตัวใหเหมาะสมกับสังคมหรือสถานการณรอบขางที่เปลี่ยนแปลง
                               อาการสําคัญ  คิดมาก  นอยใจงาย กลัวตาย ไมกลาเขาใกลคนใสชุดสีดํา ไมกลาอยูคนเดียว

                 มีอาการ มา 1 เดือน นอนสะดุงบอย เครียด คิดวาตนเองไรคา ทอแท หมดกําลังใจ ไมมีใครสนใจ ไมมีใครรัก                         ๓. เลี้ยงแบบโตไมสมวัย พอแมที่มักจะปลอยใหลูกมีพฤติกรรมแบบเด็ก ทั้งๆที่เขาสูวัยรุน จะทําให
                 เพราะปวยหลายโรค อายุมาก คนอื่นเขารังเกียจ ผล2Q 2 คะแนน 9Q 16 คะแนน เมื่อ 10 ปกอน รับจางที่                         เด็กไมมีวุฒิภาวะ ใชชีวิตเรื่อยเปอย ขาดความกระตือรือรน และไมมีแรงจูงใจที่จะพัฒนาตัวเอง
                 บานแหงหนึ่ง  เจาของบานมีหลายคน  หลายวัย  หลายอารมณ ทุกคนจะปลดปลอยอารมณลงไปที่ผูปวย เชน
                 ขวางปาจาน ชามใสอาหาร ใสผูปวย จนอาหารหกเละเทอะ ผูปวยก็ตองทําความสะอาดเศษอาหาร ดุดาใหเสีย                             ๔. เลี้ยงแบบเนนเรียนมากเกินไป เด็กที่มัวแตใชเวลาสวนใหญไปกับการเรียนพิเศษก็จะขาดทักษะ

                 ๆหาย ๆ รุนแรง ตลอด ผูปวยไมไดแสดงความไมพอใจใหนายจางเห็น ไดแตทนแลวก็ทน ทําใหเปนคนเงียบ                       อื่นๆ เชน การเขาสังคม ดนตรี กีฬา เด็กบางคนที่พึ่งคุณครูหรือพอแมมากเกินหรือพอแมชวยทําการบาน
                 นิ่งเฉย ไมคอยพูดกับใคร ขณะอยูคนเดียวรูสึกกลัว ผวา วังเวงในบาน เครียด ซึมเศรา ไปรักษาที่คลินิก เปน               ก็มักจะติดนิสัยพึ่งพาผูอื่น และไมขวนขวายหาความรูดวยตนเอง
                 โรคซึมเศรา ทํางานได 7 เดือน ลาออกมาเชาบานอยูคนเดียว                                                                      ๕. เลี้ยงแบบใชความรุนแรง เด็กที่ถูกกระทํารุนแรงไมวาทางวาจาหรือทางกาย จะเกิดความรูสึก

                               ปจจุบันวางงาน อยูคนเดียว ลูกๆไมมาดูแล แมยามปวยไข หรือไดรับการผาตัด เพื่อนบาน                   วิตกกังวล กลัว กดดัน เครียด โกรธ อยากแกแคน เด็กบางคนถึงขั้นคิดหนีออกจากบาน หรือจมอยูกับความ
                 เซ็นยินยอมเขารักษาในโรงพยาบาล  และชวยกันบริจาคคารักษา  คาเดินทางมาพบแพทยทุกครั้ง อาหารแต                         ทุกขเปนเวลานาน อารมณเสียงาย ยิ่งถาเด็กที่อยูในครอบครัวที่มีแตการใชความรุนแรง เห็นพฤติกรรมรุนแรง

                 ละวันไมมีจะรับประทาน เพื่อนบานแบงให ไดกินบาง ไมไดกินบาง น้ําหนักตัวลดลง เดือนละ 1  กิโลกรัม                   ของผูใหญ  หรือเคยถูกกระทํารุนแรงทางกาย  จะเลียนแบบและมีพฤติกรรมใชความรุนแรงมากกวาเด็ก
                 เพื่อนบานจะมาดูที่หองเปนชวงๆ เนื่องจากมักจะเก็บตัวอยูในหองคนเดียวเกือบตลอด  นาน ๆจึงจะลงไป                       ที่เติบโตมาในครอบครัวที่ไมมีการใชความรุนแรง
                 พูดคุยกับเพื่อนบานบาง  เพื่อนบานอาชีพขายของหาบเร ถั่วตม เผือกมัน ไขปง ผลไม แตละคนก็กลับมาบาน
                 ตอนเย็น ๆ หรือบางวันก็มืดค่ํา ชวงกลางวันผูปวยจะอยูคนเดียว                                                                 ๖. เลี้ยงดวยทีวีหรือแท็บเล็ต เด็กเห็นภาพความรุนแรงหรือพฤติกรรมไมเหมาะสมผานทางโทรทัศน
                                                                                                                                        หรือแท็บเล็ต วันละหลายๆ ครั้ง จะสงผลตอการเลียนแบบพฤติกรรม และความฉลาดทางอารมณของเด็กทั้ง
                                ไดรับยา Fluoxetine 20 mg 1 mg 1เม็ด หลังอาหารเชา T5 1 เม็ด 2 ครั้ง หลังอาหารเชา                      ทางตรงและทางออม เห็นภาพการดื่มเหลา สูบบุหรี่ การฆากัน การฆาตัวตาย บอยครั้ง จึงไมแปลกใจวา

                 เย็น D5 1 เม็ด กอนนอน ไดสงเสริมการเห็นคุณคาในตนเอง เนนใหผูปวยเขาใจความรูสึกที่ดีของตนเอง วา                 ทําไมเด็กสมัยนี้ ถึงดื่มแอลกอฮอลและสูบบุหรี่เร็ว และมีพฤติกรรมกาวราวรุนแรง ถาจะใหดีพอแมหรือผูเลี้ยง
                 ตนเองมีคุณคา มีความสามารถ มีความสําคัญ ปรับเปลี่ยนความคิดโดยการสรางความหวัง สรางแรงจูงใจในตน                        ควรใชโทรทัศนเปนเครื่องมือสรางไอคิวอีคิวใหสูงขึ้นดวยการนั่ง ดูโทรทัศนพรอมเด็ก เพื่อจะไดแนะนําในสิ่งที่

                                                                                                                                        ถูกที่ควร และเปดโลกทางความคิดดวยการเลือกดูรายการที่มีสาระมากกวาบันเทิง
                                                                                                                                               ถาพอแมหรือผูเลี้ยงรูอยางนี้แลว ยังคงจะทําแบบเดิมไหม? หรือวาจะลองเปลี่ยนวิธีการเลี้ยงดูใหม

                                                                                                                                        โดยเริ่มตนจากครอบครัว ใชเวลารวมกัน ผูกพันดวยความรัก ความรูสึกดี ๆ การใชคําพูดที่ดีตอกัน ฝกใหเด็ก

                                                                                                                                        รับผิดชอบและลงมือทําดวยตนเอง พอแมหรือผูเลี้ยงดูคอยสนับสนุนและใหกําลังใจ ลดความคาดหวังแตให
                                                                                                                                        เกียรติและการยอมรับแทน









               20      บทความความรู้สุขภาพจิต

                       จาก การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32