Page 23 - บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558
P. 23

มาทําความรูจักและชวยเหลือเด็กสมาธิสั้นกันเถอะ                                                                  - เพิ่มการควบคุมตนเอง  จัดตารางกิจกรรมใหชัดเจน  เมื่อเด็กทําผิดพอแมและบุคคลอื่นในบานตอง

                                                                                                                                        พยายามควบคุมอารมณ อยาตวาดตําหนิเด็กหรือลงโทษทางกายอยางรุนแรง การใชความรุนแรงกับเด็กสมาธิสั้นจะทําให
                                                                                                 ปราณี  ฉันทพจน
                                                                                                                                        เด็กโตขึ้นมาเปนเด็กกาวราวและใชความรุนแรงในการแกปญหา
                               เมื่อไปในสถานที่ตางๆ เชน รานอาหาร หางสรรพสินคา เราอาจจะมีโอกาสไดพบเจอเด็กมาพรอม                                 โรคสมาธิสั้นคนพบมานานกวา 100 ป เมื่อกอนไมไดเปนที่รูจักกันแพรหลาย ปจจุบันเกณฑการ
                 ผูปกครองที่เรารูสึกวาเด็กซนมาก ไมสามารถอยูนิ่งๆไดเลย แมวาผูปกครองจะปรามเปนระยะๆ หรือเห็นวามีการ             วินิจฉัยโรคของแพทยมีความชัดเจน ครูและผูปกครองมีความรูเกี่ยวกับโรคนี้เพิ่มขึ้น ทําใหเด็กที่มีอาการเขาขายโรค

                 โพสหรือแชรขอมูลใน Internet แสดงความคิดเห็นวา “ดูแลเด็กหนอย ลูกคนไมไดนารักสําหรับทุกคนในสังคมนะ”                 สมาธิสั้นถูกคนพบและไดรับการวินิจฉัยมากขึ้น เลยทําใหดูเหมือนวาเปนการแพรระบาดหรือเปนแฟชั่นของสังคม
                 หรือบางครั้งอาจแสดงความคิดเห็นดวยถอยคําที่รุนแรง เชน “เด็กเปรต เด็กนรก เด็กพอแมไมสั่งสอน”  จึงอยากให            ปจจุบัน การสามารถสังเกตพฤติกรรมผิดปกติของเด็กเบื้องตน ก็จะชวยใหเด็กไดเขาสูระบบบําบัดรักษาอาการสมาธิ

                 ไดรูจักกับโรคสมาธิสั้น  )Attention Deficit Hyperactivity Disorder : ADHD) ซึ่งเด็กที่เปนโรคนี้จะมีปญหาดาน
                                                                                                                                        สั้นสงผลดีกับผูปวยโรคสมาธิสั้นตอไป
                 การควบคุมตนเองจนกอใหเกิดปญหาแกคนรอบขางไดบอยๆ อาการโรคสมาธิสั้นจะมีอาการเดน คือ 1)ซุกซน อยูไม

                 นิ่ง  2) ไมมีสมาธิ 3)หุนหันพลันแลน

                 การบําบัดรักษาโรคสมาธิสั้น

                 1. การรักษาดวยยา ทําใหเด็กนิ่ง ซนนอยลง ดูสงบลงและมีสมาธิมากขึ้น มีความสามารถในการควบคุมตัวเอง

                 2. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการชวยเหลือทางดานจิตใจ ชวยใหเด็กมีสมาธิ มีความอดทน ควรใหขอมูลแก

                 พอแมโดยเฉพาะความเขาใจผิดที่คิดวาเด็กดื้อหรือเกียจคราน

                 3. การชวยเหลือดานการเรียน ประสานงานกับครูเพื่อจัดการเรียนการสอนใหเหมาะกับเด็ก

                               การรักษาสมาธิสั้นที่ดี คือ การผสมผสานการรักษาหลายๆดาน การรักษาอยางถูกวิธจะทําใหเด็ก

                 รูสึกมีคุณคาในตัวเองเพิ่มขึ้น ความสัมพันธกับเพื่อนหรือคนรอบขางดีขึ้น

                 พอแมควรทําอยางไรเมื่อลูกเปนโรคสมาธิสั้น พอแมตองเรียนรูเทคนิคที่ถูกตองเพื่อชวยในการจัดการกับพฤติกรรม

                 ที่เปนปญหาของเด็ก ดังนี้

                 1. ปรับทัศนคติที่มีตอเด็ก โรคสมาธิสั้นเปนความผิดปกติของการทํางานของสมอง พฤติกรรมที่กอปญหาของเด็ก

                 ไมไดเกิดขึ้นจากความตั้งใจที่จะกอกวนใหเกิดปญหา แตเพราะเด็กไมสามารถควบคุมตนเองได ไมไดแกลง ไมใชนิสัย

                 ไมดี ไมใชเด็กดื้อไมอดทน ไมใชสอนไมจํา ไมใชไมมีความรับผิดชอบ

                 2. ใชเทคนิคการปรับพฤติกรรมที่ไมทําลายความรูสึกมีคุณคาในตัวเองของเด็ก ดังนี้

                        - ลดสิ่งเรา จัดหาสถานที่ใหเด็กทําการบาน อานหนังสือ โดยไมมีใครรบกวน และไมมีสิ่งทําใหเด็กเสียสมาธิ

                 เชน ทีวี หรือของเลนอยูใกล ๆ

                        - เพิ่มสมาธิ ถาเด็กวอกแวกหรือหมดสมาธิงาย มีผูใหญนั่งประกบระหวางทําการบาน เพื่อใหงานเสร็จ และ

                 เวลาสั่งใหเด็กทํางาน ควรใหเด็กพูดทวนคําสั่งที่พอแมเพิ่งสั่งไปทันที เพื่อใหมั่นใจวาเด็กฟงคําสั่งและเขาใจวาพอแม
                 ตองการใหเขาทําอะไร








               16      บทความความรู้สุขภาพจิต

                       จาก การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28