Page 26 - บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558
P. 26

ไมรูจักฉัน...ไมรูจักเธอ                        รับมือ...เมื่อตกงาน



 พรศิริ  หาระพันธุ                                                                          อานนท  ฉัตรทอง

       “คุณตาคะ คุณตามาทําอะไรแถวนี้คะ” คุณตาไมพูดจา ตามองไปขางหนา เหมอลอย “คุณ

 ตานั่งกอนนะคะ ทานน้ํากอนคะ” เด็กนอยบอกคุณตา สักพักมีคุณยายคนหนึ่งเดินมา “อีหนูเอยเห็นคุณตามั้ย        สถานการณตางๆ ในปจจุบัน กําลังทําใหใครหลายคนอยูในภาวะที่ไมสงบ หนึ่งในผลกระทบ
 ลูก เดินมาแถวนี้มั้ย” คุณยายรุนราวคราวเดียวกันกับคุณตาเดินมาถาม “ออ คุณตานอนอยูตรงนั้นคะ” เด็ก  ที่รุนแรงมากที่สุดทางเศรษฐกิจ คือ ปญหาการตกงาน การตกงานแบบที่ไมคาดคิดมากอน หลายคนไมอยาก

 นอยบอกพรอมชี้มือไปที่เถียงนา “เห็นแกเดินมาถามวาสบายมั้ย แลวคุณตาก็นอนหลับไปคะ” เสียงเจื้อยแจว  เชื่อวาเหตุการณเชนนี้จะเกิดขึ้นกับตนเอง แตการตกงาน การปรับเปลี่ยนตําแหนง และการถูกไลออก ก็กลาย
 ของเด็กจอยเจรากับคุณยายอยางคลองแคลว คุณยายเลาวา “บางวันคุณตาก็เดินไปไกลมาก บางวันทานขาว  มาเปนเงื่อนไขธรรมดาที่เกิดขึ้นไดตลอดเวลา โดยไมเลือกอายุ เชื้อชาติ หรืออาชีพ ก็ทําใหมนุษยเงินเดือนอยาง

 แลวก็บอกวายังไมไดทาน เวลาลูกเตามาหาคุณตาก็ไมรูจักและกลัวลูก และจะถามชื่อลูกซ้ําๆ วาเปนใครมาจาก  พวกเราตองตระหนักถึงสิ่งเหลานั้นมากขึ้น

 ไหน” ผูเขียนจําไดขึ้นใจ คุณตาและคุณยายสองคนนี้อยูบานติดกับผูเขียน และเด็กนอยในวันนี้ก็คือผูเขียนใน        โดยทั่วไป เราทราบดีอยูแลววา ควรทําอยางไรกับตนเอง ดังนั้น ควรหาทางพัฒนาความ
 วันนี้          มั่นคงทางจิตใจหรือความรูสึกของตนเองใหดีขึ้น และหาหนทางในการกาวไปขางหนาเพื่ออนาคตที่ดีกวา
                 แทนที่จะจมอยูกับอดีตที่ผานไปแลว คุณลองพิจารณาสิ่งเหลานี้
       อาการที่คุณตาเปนนั้นหลายๆ คนคงรูจักกันดี วาเปนโรคอยางหนึ่ง ซึ่งโรคนี้จะเกิดกับ
 ผูสูงอายุ ซึ่งก็คือโรคอัลไซเมอร โรคนี้มักจะมีอาการคอยเปนคอยไปแตจะรุนแรงเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ อาการที่  - ไมใชตัวคนเดียว หากมีครอบครัวของตนเอง การตกงานอาจกอใหเกิดปญหาดานการเงิน ซึ่งมี

 เกิดขึ้นนั้นจะไปกระทบกับกระบวนความจําในปจจุบัน ซึ่งเปนอาการของคุณตา   ผลกระทบกับคนในครอบครัวโดยตรง ตองวางแผนการใชเงินภายในครอบครัวใหม
                        - คํานวณคาใชจาย แนนอนวา จะตองมีการวางแผนการใชเงินใหม ตองประหยัด ลดคาใชจายทั้งใน
       ในระยะเริ่มแรกอาจไมไดเกิดขึ้นตลอดเวลา บางครั้งผูปวยยังดูดี ความผิดปกติที่มากขึ้นจะมี  สวนที่จําเปนและไมจําเปนลง โดยอาจจะเริ่มจากการทานขาวที่บานบอยขึ้น ซื้อของในรานขายสินคาราคา

 ผลตอการวางแผน การตัดสินใจ และในที่สุดจะมีผลตอการดําเนินชีวิตประจําวัน อารมณเปลี่ยนแปลง ขึ้นๆ   ประหยัด หากสถานการณแยมาก อาจตองนําสิ่งของภายในบานไปแลกเปลี่ยนเปนเงินเพื่อมาใชจาย เมื่อคุณ
 ลงๆ หงุดหงิด โมโห หรือมีอาการซึมเศรา กอใหเกิดปญหาในครอบคารัว    หางานทําไดอีกครั้ง คุณจะมองเห็นคุณคาของการใชเงินและตัดสิ่งที่ไมจําเปนออกไป เพื่อออมเงินไวใชในคราว


       โรคอัลไซเมอร เปนโรคที่ไมสามารถรักษาใหหายขาดได ผูปวยตองไดรับการดูแลอยางใกลชิด   จําเปนซึ่งอาจเกิดขึ้นไดอีกในอนาคต
 ลูกหลานที่อยูดวย และผูที่เปนคูชีวิตก็อาจจะตองศึกษาการดูแลผูปวยโรคนี้ ซึ่งจะไดพบกับวิธีการตางๆ ในการ  - ทบทวนสิ่งตางๆ หากตองการเวลาในการคิดทบทวนเกี่ยวกับเปาหมายในการทํางาน นี่คือ

 ดูแล ในฉบับตอไป   ชวงเวลาที่เหมาะสมที่สุดสําหรับการใครครวญ ในกรณีที่ยังตองการหางานใหมทํา ควรใชโอกาสนี้ในการ
                 ไตรตรองวาเปาหมายในการทํางานของตนเองคืออะไร และไดใชความรูความสามารถของตนเองเต็มที่แลวหรือ
                       ยัง? และมีเวลาในการทําตามใจตนเองเพียงพอหรือยัง? อยากทํางานแบบเปนทีม หรือทํางานแบบตัวตนเดียว?

                 เปาหมายในการทํางานในอีกหาปขางหนา? และจะแนใจไดอยางไรวา หนาที่การานใหมจะทําใหประสบ
                 ความสําเร็จและกาวไปสูเปาหมายที่ตนเองตองการได? จงพยายามหาคําตอบใหกับคําถามที่นาเบื่อเหลานี้ใหได

                 เพราะจะชวยใหเราสามารถกําหนดเปาหมายในการสมัครงานได ซึ่งหนาที่การงานใหม จะทําใหตนเองและคน

                 รอบขางมีความสุขมากยิ่งขึ้น แมวาคุณอาจจะไมมีงานทําในตอนนี้ แตอยาปลอยใหตนเองตองตกเปนเหยื่อจาก
                 สถานการณที่เลวราย ควรมองหาโอกาสที่จะพัฒนาตนเอง ตองรูจักปรับตัวเพื่อความอยูรอด เพราะชีวิตนั้น

                 ขึ้นอยูกับการควบคุมและความเชื่อมั่นในตนเอง ดังนั้น จงเริ่มตั้งแตตอนนี้












                                                                                  บทความความรู้สุขภาพจิต     19

                                      จาก การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31