Page 85 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 85

85



                          -  ภาวะทุพโภชนาการ
                          -  ภาวะโภชนาการเกิน (โรคอวน)

                   ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition)

                          ภาวะทุพโภชนาการ หมายถึง ภาวะที่รางกายไดรับสารอาหารผิดเบี่ยงเบนไปจากปกติ อาจ

                   เกิดจากไดรับสารอาหารนอยกวาปกติหรือเหตุ ทุติยภูมิ คือเหตุเนื่องจากความบกพรองตางจากการ
                   กินการยอยการดูดซึมในระยะ 2-3 ปแรกของชีวิต จะมีผลกระทบตอระดับสติปญญา และการเรียน

                   ภายหลัง เนื่องจากเปนระยะที่มีการเจริญเติบโตของสมองสูงสุด ซึ่งระยะเวลาที่วิกฤติตอพัฒนาการ

                   ทางรางกายของวัยเด็กมากที่สุดนั้นตรงกับชวง 3 เดือนหลังการตั้งครรภจนถึงอายุ 18-24 เดือนหลัง
                   คลอด เปนระยะที่มีการปลอกหุมเสนประสาทของระบบประสาท และมีการแบงตัวของเซลล

                   ประสาทมากที่สุด เมื่ออายุ 3 ป มีผลกระทบตอการเจริญเติบโต ถึงรอยละ 80 สําหรับผลกระทบทาง

                   รางกายภายนอกที่มองเห็นไดคือเด็กมีรูปรางเตี้ย เล็ก ซุบผอม ผิวหนังเหี่ยวยนเนื่องจากไขมันชั้น

                   ผิวหนัง นอกจากนี้ออวัยสะภายในตางๆ ก็ไดรับผลกระทบเชนกัน
                          1.  หัวใจ จะพบวา กลามเนื้อหัวใจไมแนนหนา และการบีบตัวไมดี

                          2.  ตับ จะพบไขมันแทรกอยูในตับ เซลลเนื้อตับมีลักษณะบางและบวมเปนน้ําสาเหตุให

                              ทํางานไดไมดี
                          3.  ไต พบวาเซลลทั่วไปมีลักษณะบวมน้ําและติดสีจาง

                          4.  กลามเนื้อ พบวาสวนประกอบในเซลลลดลง มีน้ําเขาแทนที่

                   นอกจากการขาดสารอาหารแลวการไดรับอาหารเกิน ในรายที่อวนฉุก็ถือเปนภาวะทุพโภชนาการ
                   เปนการไดรับอาหารมากเกินความตองการ พลังงานที่มีมากนั้นไมไดใชไป พลังงานสวนเกิน

                   เหลานั้นก็จะแปลงไปเปนคลอเรสเตอรรอลเกาะจับแนนอยูตามสวนตางๆของรางกาย และอาจ

                   ลุกลามเขาสูเสนเลือด ผลที่ตามมาก็คือ โรคอวน โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และโรคตางๆ
                   การประเมินสภาวะโภชนาการ

                          1.  ประวัติ ที่นําเด็กมาจากโรงพยาบาลเพื่อหาสาเหตุชักนําใหเกิดภาวะขาดสารอาหาร

                   2.     การตรวจรางกาย เพื่อหารองรอยการผิดปกติซึ่งเกิดจากการขาดสารอาหารและวิตตามิน

                   การตรวจรางกาย เพื่อประเมินสภาวะโภชนาการของเด็กแบงไดเปน 2 ตอน คือ การตรวจรางกาย
                   ทั่วไป กับการตรวจโดยการวัดความเจริญทางรางกาย

                                การตรวจรางกายทั่วไปโดยแพทย จะเปนแนวทางชวยประเมินสภาวะของเด็ก และ

                   เปนแนวทางวินิจฉัยการขาดสารอาหารและวิตามิน

                                การตรวจโดยการวัดความเจริญทางรางกาย เปนการวัดขนาดทางรางกายคือ สวนสูง
                   และน้ําหนัก เพื่อบอกถึงโภชนาการของเด็ก

                   ภาวะโภชนาการเกิน
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90