Page 87 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 87

87



                   ระดับฮอรโมนเอสโตรเจนลดลง มีไขมันในเลือดสูง สําหรับอายุพบวามีอัตราการเกิดโรคนี้สูงมาก
                   ในผูสูงอายุ และเชื้อชาติพบวาในคนผิวดํามีอัตราการเกิดโรคนี้มากกวาคนผิวขาว

                          อาการ

                          1.  เจ็บหนาอกเปนๆ หายๆ หรือเจ็บเมื่อเครียด หรือเหนื่อย ซึ่งเปนลักษณะอาการเริ่มแรก

                          2.  เจ็บหนาอกเหมือนมีอะไรไปบีบรัด เจ็บลึกๆ ใตกระดูกดานซายราวไปถึงขากรรไกร
                   และแขนซายถึงนิ้วมือซาย เจ็บนานประมาณ 15-20 นาที ผูปวยอาจมีเหงื่อออกมาก คลื่นไสหายใจ

                   ลําบาก รูสึกแนนๆ คลายมีเสมหะติดคอ บางครั้งมีอาการคัดจมูกคลายเปนหวัด เมื่อเปนมากจะมี

                   อาการหนามืดคลายจะเปนลม และอาจถึงขั้นเปนลมได บางครั้งพอเหนื่อยก็จะรูสึกงวงนอนและ
                   เผลอหลับไดงาย

                          3.  ผูปวยมีอาการหัวใจสั่น หัวใจเตนไมสม่ําเสมอ

                          4.  ในกรณีที่รุนแรง อาการเจ็บหนาอกจะรุนแรงมาก มักจะเกิดจากการที่มีลิ่มเลือดไปอุด

                   ตันบริเวณหลอดเลือดที่ตีบ ทําใหเกิดกลามเนื้อหัวใจตาย ผูปวยอาจมีอาการหัวใจวาย ช็อก หัวใจ
                   หยุดเตน ทําใหเสียชีวิตอยางกะทันหันได

                          การปองกัน

                          1.  หากพบวาบุคคลในครอบครัวมีประวัติเปนโรคนี้ ควรเพิ่มความระมัดและหลีกเลี่ยง
                   จากปจจัยเสี่ยง เพราะอาจกระตุนการเกิดโรค

                          2.  ลดอาหารที่ทําจากน้ํามันสัตว กะทิจากมะพราว น้ํามันปาลม และไขแดง

                          3.  ไมควรรับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด
                          4.  ลดอาหารจําพวกแปง คารโบไฮเดรต รับประทานอาหารพวกผัก ผลไมมากๆ

                          5.  งดอาหารไขมันจากสัตวและอาหารหวานจัด

                          6.  ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ
                          7.  พักผอนใหเพียงพอวันละ 6-8 ชั่วโมง และหาวิธีผอนคลายความเครียด

                          8.  หลีกเลี่ยงหรืองดการสูบบุหรี่






                          โรคอวน (Obesity)

                          โรคอวนเปนสภาวะที่รางกายมีไขมันสะสมตามสวนตางๆ ของรางกายมากเกินกวาเกณฑ

                   ปกติ ซึ่งตามหลักสากลกําหนดวาผูชายไมควรมีปริมาณของไขมันในตัวเกินกวา 12-15% ของ
                   น้ําหนักตัว ผูหญิงไมควรมีปริมาณของไขมันในตัวเกินกวา 18-20% ของน้ําหนักตัว ซึ่งการตรวจนี้

                   หากจะใหไดผลแนนอนควรไดรับการตรวจจากหองปฏิบัติการ แตนักเรียนอาจประเมินวาเปนโรค
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92