Page 64 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 64

63




                            3. ไซเล็มพาเรนไคมา (xylem parenchyma) มีรูปร่างเป็นทรงกระบอกหน้าตัดกลมรีหรือหน้า
                     ตัดหลายเหลี่ยม มีผนังเซลล์บางๆ เรียงตัวกันตามแนวล าต้นพืช เมื่อมีอายุมากขึ้นผนังเซลล์จะหนาขึ้น

                     ด้วย เนื่องจากมีสารลิกนิน (lignin) สะสมอยู่ และมีรูเล็กๆ (pit) เกิดขึ้นด้วย ไซเล็มพาเรนไคมาบางส่วน

                     จะเรียงตัวกันตามแนวรัศมีของล าต้นพืช เพื่อท าหน้าที่ล าเลียงน ้าและแร่ธาตุต่างๆ ไปยังบริเวณด้านข้าง

                     ของล าต้นพืช  พาเรนไคมาท าหน้าที่สะสมอาหารประเภทแป้ ง น ้ามัน และสารอินทรีย์อื่นๆ  รวมทั้ง
                     ท าหน้าที่ล าเลียงน ้าและแร่ธาตุต่างๆ ไปยังล าต้นและใบของพืช

                            4. ไซเล็มไฟเบอร์ (xylem fiber) เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างยาว แต่สั้นกว่าไฟเบอร์ทั่วๆ ไป ตามปกติ

                     เซลล์มีลักษณะปลายแหลม มีผนังเซลล์หนากว่าไฟเบอร์ทั่วๆ ไป มีผนังกั้นเป็นห้องๆ ภายในเซลล์ ไซ
                     เ                                         ล็                                         ม

                     ไฟเบอร์ท าหน้าที่เป็นโครงสร้างค ้าจุนและให้ความแข็งแรงแก่ล าต้นพืช




























                                                  รูปแสดงเนื้อเยื่อที่เป็นส่วนประกอบ

                                                     ของท่อล าเลียงน ้าและแร่ธาตุ



                     ท่อล าเลียงอาหาร

                     ท่อล าเลียงอาหาร (phloem) เป็นเนื้อเยื่อที่ท าหน้าที่ล าเลียงอาหารและสร้างความแข็งแรงให้แก่ล าต้นพืช
                     โดยท่อล าเลียงอาหารประกอบด้วยเซลล์ 4 ชนิด ดังนี้

                            1. ซีพทิวบ์เมมเบอร์ (sieve tube member) เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างเป็นทรงกระบอกยาว เป็นเซลล์

                     ที่มีชีวิต ประกอบด้วย ช่องว่างภายในเซลล์ (vacuole)  ขนาดใหญ่มาก  เมื่อเซลล์เจริญเติบโตเต็มที่แล้ว

                     ส่วนของนิวเคลียสจะสลายไปโดยที่เซลล์ยังมีชีวิตอยู่  ผนังเซลล์ของซีพทิวบ์เมมเบอร์มีเซลลูโลส
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69