Page 68 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 68

67




                     ขึ้นมาทดแทนน ้าที่พืชคายออกสู่บรรยากาศ แรงดึงนี้จะถูกถ่ายทอดไปยังรากท าให้รากดึงน ้าจากดินเข้า

                     มาในท่อไซเลมได้เนื่องจากน ้ามีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน ้าด้วยกันเอง เรียกว่า โคฮี
                     ชัน (cohetion) สามารถที่จะดึงน ้าเข้ามาในท่อไซเลมได้โดยไม่ขาดตอน นอกจากนี้ยังมีแรงยึดเหนี่ยว

                     ระหว่างโมเลกุลของน ้ากับผนังของท่อไซเลม เรียกว่า แอดฮีชัน (adhesion) เมื่อพืชคายน ้ามากจะท าให้

                     น ้าระเหยออกไปมากด้วย ดังนั้นน ้าในไซเลมจึงสามารถเคลื่อนที่และส่งต่อไปยังส่วนต่างๆของพืช
                     ได้ ไม่ว่าจะเป็นล าต้น ใบ หรือยอดรากก็จะเกิดแรงดึงน ้าจากดินเข้าสู่ท่อไซเลมได้ แรงดึงเนื่องจากการ

                     สูญเสียน ้านี้เรียกว่า แรงดึงจากการคายน ้า (transpiration pull)


                     1.3 โครงสร้างและการท างานของระบบล าเลียงอาหารในพืช


                            น ้าที่พืชล าเลียงผ่านชั้นคอร์เทกซ์ของรากเข้าสู่ไซเลม มีธาตุอาหารต่าง ๆ ที่รากดูดจากดิน
                     ละลายอยู่ด้วยการล าเลียงธาตุอาหารต่าง ๆ มีความซับซ้อนมากกว่าการล าเลียงน ้า เพราะเซลล์มักไม่ยอม

                     ให้ธาตุอาหารเคลื่อนที่ผ่านเข้าออกได้โดยอิสระ


                            กระบวนการเคลื่อนที่ของธาตุอาหารต่างๆ เข้าสู่ราก ท าได้ 2 วิธี คือ ล าเลียงแบบไม่ใช้

                     พลังงาน (passive transport) โดยธาตุอาหารจะแพร่จากภายนอกเซลล์ที่มีความเข้มข้นสูงกว่า

                     ไปยังภายในเซลล์ที่มีความเข้มข้นต ่ากว่า และการล าเลียงแบบใช้พลังงาน (active transport) ซึ่งเป็นการ

                     เคลื่อนที่ของธาตุอาหารแบบอาศัยพลังงานท าให้พืชสามารถล าเลียงธาตุอาหารจากภายนอกเซลล์ที่มี

                     ความเข้มข้นต ่ากว่าเข้ามาภายในเซลล์ได้ จึงท าให้พืชสะสมธาตุอาหารบางชนิดไว้ได้

                            ธาตุอาหารที่จะเข้าไปในไซเลมสามารถเคลื่อนผ่านชั้นคอร์เทกซ์ของรากได้โดยเส้นทาง

                     อโพพลาสหรือซิมพลาส และเข้าสู่เซลล์เอนโดเดอร์มิสก่อนเข้าสู่ไซเลม   ธาตุอาหารที่พืชล าเลียง

                     เข้าไปในไซเลมนั้นเป็นสารอนินทรีย์ต่างๆ ที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิตและการเจริญเติบโตของพืช
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73