Page 67 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 67

66




                                                รูปแสดงระบบการล าเลียงสารของพืช

                      การแพร่ (diffusion) เป็นการเคลื่อนที่ของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นมากกว่าไปสู่บริเวณที่มีความ
                     เข้มข้นน้อยกว่า

                     การออสโมซิส  (osmosis)  เป็นการแพร่ของน ้าจากบริเวณที่มีน ้ามากกว่า (สารละลายเจือจาง)  ไปสู่

                     บริเวณที่มีน ้าน้อยกว่า  (สารละลายเข้มข้น)  การท างานของระบบล าเลียงสารของพืชต้องใช้วิธีการ
                     แพร่หลายชนิด โดยมีท่อล าเลียงน ้าและแร่ธาตุ (xylem) และท่อล าเลียงอาหาร (phloem) เป็นเส้นทางใน

                     การล าเลียงสารไปยังล าต้น ใบ กิ่ง และก้านของพืช


                     1.2 โครงสร้างและการท างานของระบบล าเลียงน ้าในพืช


                              พืชที่ไม่มีท่อล าเลียง เช่น มอส มักจะมีขนาดเล็กและเจริญในบริเวณที่มีความชื้นสูงมี
                     ร่มเงาเพียงพอ เซลล์ทุกเซลล์ได้รับน ้าอย่างทั่วถึงโดยการแพร่จากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง

                     ส่วนพืชที่มีขนาดใหญ่จะใช้วิธีการเช่นเดียวกับมอสไม่ได้ จ าเป็นต้องมีท่อล าเลียงจากรากขึ้นไปเลี้ยง

                     เซลล์ที่อยู่ปลายยอดโดยปกติแล้วสารละลายภายในเซลล์ขนรากมีความเข้มข้นสูงกว่าภายนอก
                     ดังนั้นน ้าในดินก็จะแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่เซลล์ที่ผิวของราก  การเคลื่อนที่ของน ้าในดินเข้าสู่ราก

                     ผ่านชั้นคอร์เทกซ์ของรากไปจนถึงชั้นเอนโดเดอร์มิสได้โดยน ้าจะผ่านจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง

                     ทางผนังเซลล์หรือผ่านทางช่องว่างระหว่างเซลล์เรียกเส้นทางของการเคลื่อนที่แบบนี้ว่า อโพพลาส

                     (apoplast) ส่วนการเคลื่อนที่ของน ้าผ่านเซลล์หนึ่งสู่เซลล์หนึ่งทางไซโทพลาซึม ที่เรียกว่าพลาสโมเด
                     สมาเข้าไปในเซลล์เอนโดเดอร์ มิส  ก่อนเข้าสู่ ไซเลมเรี ยกการเคลื่อนที่แบบนี้ ว่า

                     ซิมพลาส (symplast)  เมื่อน ้าเคลื่อนที่มาถึงผนังเซลล์เอนโดเดอร์มิสที่มีแคสพาเรียนสตริพ กั้นอยู่ แค

                     สพาเรียนสติพป้ องกันไม่ให้น ้าผ่านผนังเซลล์เข้าไปในไซเลม ดังนั้นน ้าจึงต้องผ่านทางไซโทพลาซึมจึง

                     จะเข้าไปในไซเลมได้

                              ถ้าลองตัดล าต้นของพืชบางชนิด เช่น มะเขือเทศ พุทธรักษา หรือกล้วยที่ปลูกในที่มีน ้าชุ่มให้
                     เหลือล าต้นสูงจากพื้นดินประมาณ 4-5 เซนติเมตร แล้วสังเกตตรงบริเวณรอยตัดของล าต้น ส่วนที่ติดกับ

                     รากจะเห็นของเหลวซึมออกมา เนื่องจากในไซเลมของรากมีแรงดัน เรียกว่า  แรงดันราก (root pressure)

                     การเคลื่อนที่ของน ้าเข้าสู่ไซเลมของรากท าให้เกิดแรงดันขึ้นในไซเลม ในพืชที่ได้รับน ้าอย่างพอเพียง
                     และอยู่ในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง เช่นเวลากลางคืนหรือเช้าตรู่  แรงดันรากมีประโยชน์ในการช่วย

                     ละลายฟองอากาศในไซเลมที่อาจเกิดขึ้นในช่วงเวลากลางวัน  แต่ในสภาพอากาศร้อนและแห้งในเวลา

                     กลางวัน พืชมีการคายน ้ามากขึ้นจะเกิดแรงดึงของน ้าในท่อไซเลมท าให้ไม่พบแรงดันราก  การสูญเสีย
                     น ้าจากใบโดยการคายน ้าเกิดขึ้นเนื่องจากความแตกต่างระหว่างปริมาณไอน ้าในบรรยากาศ  และไอน ้า

                     ในช่องว่างภายในใบ การล าเลียงน ้าในท่อไซเลมนั้นเกิดขึ้นเนื่องจากมีแรงดึงน ้าที่อยู่ในท่อไซเลมให้
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72