Page 17 - วชาปรบอากาศรถยนตรโปรเเกรม
P. 17
12
เคลื่อนที่ลงซึ่งเป็นจังหวะดูด ความดันของสารท าความเย็น ในกระบอกสูบจะลดลงมาก
หรือดวาล์วด้านอัดจะถูกปิดด้วยแรงอัดของสารท าความเย็น 1 ทางด้านความดันสูง ส่วน
หรีดวาล์วด้านดูดจะเปิดให้ลารทาความเย็นจากทางด้าน ดูดของคอมเพรสเซอร์เข้ามาใน
กระบอกสูบ เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นสารท าความเย็นในกระบอกสูบจะถูกอัดตัวท าให้
ความดันเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั้งดันให้ เหรีดวาล์วด้านอัดเปิดออกให้สารท าความ
เย็นที่มีความดันสูงนี้ไหลออกไปยัง คอนเดนเซอร์ต่อไป
1.2 คอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต (Swash Plate Compressor)
คอมเพรสเซอร์แบบนี้ดูดและอัดสารท าความเย็นด้วยการเคลื่อนที่ของลูกสูบ เรน
เดียวกับคอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ แต่การขับเคลื่อนลูกสูบของคอมเพรสเซอร์ แบบนี้ ไม่
ใช้เพลาข้อเหวียงแต่ใช้แผ่นเอียง (Swash Plate) แทน
1.2.1 โครงสร้ำงของคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต คอมเพรสเซอร์แบบสวอช
เพลตมีส่วนประกอบหลักที่ส าคัญ ดังนี้
1) แผ่นเอียง หรือสวอชเพลต
2) ลูกสูบ
3) กระบอกสูบลูกสูบ
4) เพลาสวอชเพลตวาล์วดูด
5) หรีดวาล์วด้านดูด และด้านอัด
1.2.2 กำรท ำงำนของคอมเพรสเซอร์แบบสวอชเพลต
เมื่อเพลาสวอชเพลตหมุนไปความเอียงของสวอชเพลตที่เปลี่ยนไปตามองศา การ
หมุนของเพลาสวอชเพลต จะพาให้ลูกสูบเคลื่อนที่ไปมาขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่ไป
ทางด้านขวามือ สารท าความเย็นในกระบอกสูบทางด้านขวามือจะถูกอัดตัวให้มีความดัน
สูงขึ้นเรื่อยๆ จนท าให้หรีดวาล์วด้านอัดของกระบอกสูบด้านขวามือเปิดให้ สารท าความ
เย็นที่มีความดันสูงไหลออกไปยังคอนเดนเซอร์ต่อไป ขณะเดียวกัน ลูกสูบในกระบอกสูบ
ด้านซ้ายมือจะเคลื่อนที่ในจังหวะดูดหรีดวาล์วด้านดูดของ กระบอกสูบด้านซ้ายมือจึง