Page 12 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 12
7
3. เนนการพัฒนาเปนการเปลี่ยนแปลงที่เนนที่พลังจากภายในชุมชนดําเนินการ
เปลี่ยนแปลงชุมชนโดยการตัดสินใจการกระทําของคนในชุมชนเองไมไดไปเปลี่ยนที่คนอื่น
หากเปนการเปลี่ยนที่ชุมชนและไมไดเอาตัวปญหาเปนตัวตั้ง แตเปนความพยายามที่จัดสราง
ชุมชนที่พึ่งตนเองและสามารถยืนอยูไดดวยตนเอง
เรื่องที่ 2. การพัฒนาชุมชนดานสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมตามหลัก
แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
หัวใจสําคัญของการพัฒนาชุมชน คือ การยึดชุมชนเปนหลัก ประชาชนตองรวมมือกัน
ชวยเหลือกัน พึ่งตนเอง และสรางความเขมแข็งของชุมชน ซึ่งเปนเสมือนทุนทางสังคมไทย
เริ่มจากการสงเสริมการผลิตพื้นฐาน คือการเกษตรแบบผสมผสาน การมีสวนรวมของ
ประชาชนในชุมชนเปนหลัก โดยการรวมมือของประชาชน ตองใชกิจกรรมทางเศรษฐกิจเปน
เครื่องมือ มีการรวมกลุมโดยมีเปาหมายเปนผลผลิต สนับสนุนใหเกิดเครือขายของชาวบาน
โดยภาครัฐสามารถเขาไปสนับสนุนใหตรงกับความตองการ อันจะทําใหเกิดการพัฒนา
เศรษฐกิจพื้นฐานเพื่อการพึ่งพาตนเองของชุมชนไดอยางยั่งยืนตอไป
การพัฒนาประเทศภายใตแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีวัตถุประสงค ดังนี้
1. ฟนฟูเศรษฐกิจใหมีเสถียรภาพและมีภูมิคุมกัน
2. วางรากฐานการพัฒนาประเทศใหเขมแข็งยั่งยืนสามารถพึ่งตนเองไดอยางรู
เทาทันโลก
3. ใหเกิดการบริหารจัดการที่ดีในสังคมไทยทุกระดับ
4. แกไขปญหาความยากจนและเพิ่มศักยภาพและโอกาสของคนไทยในการพึ่งพาตนเอง
การพัฒนายั่งยืน ( Sustainable Development ) หมายถึง การพัฒนาที่ตอบสนอง
ความตองการของปจจุบันโดยไมทําใหผูคนในอนาคตเกิดปญหาในการตอบสนองความตองการ
ของตนเอง (นิยามของคณะกรรมการโลกวาดวยสิ่งแวดลอมและการพัฒนา World
Commission on Environment and Development ในรายงาน Our Common Future
1987 หรือ Brundtland Report ) ในการพัฒนายั่งยืนรวมความถึง 3 ดาน คือ เศรษฐกิจ
สังคมและสิ่งแวดลอม ซึ่งเชื่อมโยงและสัมพันธกัน โครงการพัฒนา ใด ๆ ตองคํานึงถึง
องคประกอบทั้งสามดานนี้