Page 15 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 15
10
เรื่องที่ 4 การสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงของบุคคล ชุมชน ที่ประสบความสําเร็จสูอาเซียน
การที่ประเทศไทยของเรานั้น จะกาวเขาสูการเปนประชมอาเซียนไดอยางสมบูรณพรอม
มูลนั้น ยอมจะตองอาศัยเหตุปจจัยหลาย ๆ อยางมาประกอบเขาดวยกัน เพื่อเสถียรภาพ
ที่มั่นคงถาวรอยางแทจริง
แนวทางสําคัญอยางหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 ทรงมอบไวแก
ชาวไทยทุกๆคนนั้น คือหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีความเกี่ยวของและสอดคลองกับ
ความพอประมาณ, การมีเหตุผลและการมีภูมิคุมกัน โดยตองอาศัยหลักความรูคูคุณธรรม
ประกอบกันดวยหลักการเหลานี้สามารถที่จะนํามาประยุกตใชไดกับการเปนสวนหนึ่งของ
ประชาคมอาเซียน เพราะวากอนที่จะเขาเปนสวนหนึ่งของประชาคมดังกลาวไดอยางเต็ม
ภาคภูมินั้นจําตองสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจใหไดมากพอที่จะเปนที่ยอมรับของ
กลุมประเทศตาง ๆ ในประชาคม
เศรษฐกิจพอเพียงเปนการพัฒนาไปสูความสามารถในการพึ่งตนเองในระดับตาง ๆ
อยางเปนขั้นตอนชวยลดความเสี่ยงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงจากปจจัยตาง ๆ โดยอาศัยความ
พอประมาณ และความมีเหตุผล มีการสรางภูมิคุมกันที่ดี มีความรูควบคูคุณธรรม
หัวใจของหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การ “อยูไดดวยสิ่งที่มีอยูอยางยั่งยืน” เปน
หลักการและแนวปฏิบัติของโลกในอนาคต ดวยเรื่องความพอเพียงเปนเรื่องของบุคคล และ
องคกรทุกระดับเมื่อไดรับการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง จนเกิดประสิทธิผลและเปนที่
ยอมรับ
นอกจากนี้ ยังมี 13 นักคิดระดับโลก เห็นดวยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมี
การนําเสนอบทความ บทสัมภาษณตาง ๆ เชน
ศ.ดร. วูลฟกัง ซัคส นักวิชาการดานสิ่งแวดลอมคนสําคัญของเยอรมนีสนใจการ
ประยุกตใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยางมาก และมองวานาจะเปนอีกทางเลือกหนึ่ง
สําหรับทุกชาติ ในเวลานี้ทั้งมีแนวคิดผลักดันเศรษฐกิจพอเพียงใหเปนที่รูจักในเยอรมนี
ศ.ดร.อมาตยา เซน ศาสตราจารยชาวอินเดียเจาของรางวัลโนเบลสาขา
เศรษฐศาสตร ป ค.ศ. 1998 มองวา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนการใชสิ่งตาง ๆ ที่จําเปนตอ
การดํารงชีพ และใชโอกาสใหพอเพียงกับชีวิตที่ดีซึ่งไมไดหมายถึงความไมตองการ แตตองรูจัก