Page 13 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 13

8




                  เรื่องที่ 3. การมีสวนรวม แกปญหา หรือพัฒนาชุมชนดานสังคม  เศรษฐกิจ  สิ่งแวดลอม

                           และวัฒนธรรมตามหลักแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                           กระบวนการจัดทําแผนพัฒนาหมูบาน/ชุมชน เปนกระบวนการเรียนรูและการมีสวน


                  รวมของประชาชนในหมูบานและชุมชน โดยเริ่มจากการกระตุนจิตสํานึก และความรับผิดชอบ
                  ของประชาชน/ชุมชน ใหมีจิตสาธารณะ และรวมกันคิด รวมกันจัดหา รวมกันเรียนรู/วิเคราะห

                  เพื่อใหรูและเขาใจตน โดยใชกระบวนการชุมชน คือ การสํารวจขอมูลปญหาและศักยภาพของ

                  ชุมชน  การวิเคราะหสาเหตุ/แนวทางแกไข แลวกําหนดอนาคตและทิศทางการพัฒนาตนเอง/

                  หมูบาน และชุมชน ออกมาเปนกิจกรรม/โครงการที่จะแกไขปญหาและตอบสนองความตองการ

                  การพัฒนา ในลักษณะจากชุมชน  โดยชุมชน และเพื่อชุมชน  ซึ่งจะเปนการสรางความเขมแข็ง

                  และพึ่งตนเองอยางยั่งยืนของชุมชนดังนั้นแผนชุมชน จึงเปนเครื่องมือของการมีสวนรวม

                  แกปญหา หรือพัฒนาชุมชนดานสังคม  เศรษฐกิจ  สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมตามหลักแนวคิด

                  ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


                  แนวคิดเกี่ยวกับการจัดทําแผนชุมชน

                          การใหชาวบานในหมูบานและชุมชน จัดทําแผนชุมชนเพื่อพัฒนาหมูบานและชุมชน

                  ของตนเอง  มีแนวคิดหลักการและความเชื่อในหลาย ๆ ดาน เชน

                          1.  แนวคิดจากปรัชญาพัฒนาชุมชน ซึ่งเปนสากลที่บอกวาชาวบานมีศักยภาพ
                  สามารถพัฒนาตนเองไดถาใหโอกาส และการพัฒนาตองเริ่มตนที่ชาวบาน


                          2. แนวคิดจากหลักการพัฒนาชุมชน คือ การมีสวนรวม การพึ่งตนเอง การชวยเหลือ
                  ซึ่งกันและกัน และการรับผิดชอบตอชุมชนของตนเอง

                          3. แนวคิดในการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง คือ การใหชุมชนไดมีกระบวนการในการ

                  จัดการชุมชน  มีการเรียนรูรวมกันในกระบวนการชุมชน

                          4. แนวคิดในการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง คือ การสรางพลังชุมชน ใชพลังชุมชน

                  ในการพัฒนาชุมชน

                          5. แนวคิดที่วาไมมีใครรูปญหาชุมชนเทาคนในชุมชน ดังนั้น การแกปญหาชุมชนจึง

                  เริ่มจากชุมชน การใหการสนับสนุนของภาครัฐจะตองเปนลักษณะ  Bottom-up  ไมใช  Top

                  Down
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18