Page 35 - 7.Big Data Application on Digital Marketing
P. 35

หลักการประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งออนไลน์ในอุตสาหกรรม S-curve ของประเทศไทย |
                                                                                                         |  34

            3.1  บทนำ : ความสำคัญของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ



                       อุตสาหกรรมทองเที่ยวเปนอีกหนึ่งกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ทั้งนี้ประเทศไทยถือไดวาเปนผูนำดานการ

               ทองเที่ยวเชิงสุขภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จากนโยบายที่เนนเรื่องการเพิ่มคุณภาพของนักทองเที่ยวตางประเทศ
               และไทยเที่ยวไทย

                       อุตสาหกรรมการทองเที่ยว ประกอบดวยธุรกิจหลายประเภทที่เกี่ยวของทั้งโดยตรงและโดยทางออม รวมทั้งธุรกิจ
               สนับสนุนตางๆ ชวยสรางงานและเกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ นับเปนแหลงที่มาของรายไดที่สำคัญ โดยเฉพาะอยางยิ่ง

               กลุมนักทองเที่ยวที่มีรายไดดีและนักทองเที่ยวเชิงสุขภาพ

                       ประเทศไทยไดจัดทำยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศไทยใหเปนศูนยกลางสุขภาพนานาชาติ (พ.ศ. 2559-2568 และ
               เปนศูนยกลางการเดินทางทองเที่ยวในอาเซียน ดวยกิจกรรมหลัก 4 กิจกรรม ไดแก

                       1 การทองเที่ยวเชิงกีฬา ( Sports Tourism
                       2 การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ( Medical & Wellness Tourism

                       3 การจัดงานแตงงาน ( Wedding & Romance
                       4 การทองเที่ยวทางน้ำ ( Marine Tourism

                       อุตสาหกรรมการทองเที่ยวมีความสำคัญตอเศรษฐกิจโลก และมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยการทองเที่ยวเชิง
               สุขภาพ (Wellness Tourism มีการเชื่อมโยงและสงเ สริมการทองเที่ยวทุกๆ กลุม มีมูลคาการตลาดสูงเปนอันดับสี่ รองจาก

               การทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การทองเที่ยวเชิงอาหาร และการทองเที่ยวเชิงนิเวศน รายไดจากการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ คิดเปน
               ประมาณรอยละ 15.6 ของรายไดจากการทองเที่ยวโดยรวม และมีอัตราการขยายตัวที่คอนขางสูง เฉลี่ยรอยละ 7.5 ตอป

               ระหวาง ป 2558-2563 สาเหตุหนึ่งมาจากนักทองเที่ยวเชิงสุขภาพเปนกลุมที่มีการศึกษาดี ฐานะปานกลางถึงสูง มีจำนวนวันที่
               พักยาวนาน และมีการใชจายเฉลี่ยตอการทองเที่ยวแตละครั้งสูงกวานักทองเที่ยวทั่วไป

                       อุตสาหกรรมการทองเที่ยวของไทย ขยายตัวอยางตอเนื่อง ดวยศักยภาพดานทำเลที่ตั้ง ทรัพยากรการทองเที่ยวที่
               หลากหลาย โดยป 2559 มีรายไดจากการทองเที่ยว เพิ่มขึ้นจากปกอนรอยละ 10.93  ในขณะที่การทองเที่ยวในป 2558

               Global Wellness Institute (GWI ไดจัดอันดับใหประเทศไทยมีขนาดตลาด การทองเที่ยวเชิงสุขภาพอยูในอันดับที่ 13 ของ
               โลกโดยมีการใชจาย 9.4 พันลานเหรียญสหรัฐฯ มีจำนวนการเดินทาง 9.7 ลานครั้ง เพิ่มขึ้นจากป 2556 จำนวน 1.5 ลานครั้ง
               หรือขยายตัวในอัตรารอยละ 8.5 ตอป ซึ่งสูงกวาอัตราการขยายตัวของการทองเที่ยวโดยรวม นอกจากนั้นประเทศไทยยังเปน

               ผูนำตลาดในดานจำนวนนักทองเที่ยวทางการแพทย (Medical Tourism เมื่อเทียบกับประเทศคูแขงที่สำคัญในภูมิภาค
               อาเซียน การบริการทางการแพทยของไทยมีจุดเดนในดานคุณภาพของบุคลากรทั้งแพทย พยาบาล ผูเชี่ยวชาญ รวมทั้งความ
               ทันสมัยของเครื่องมือ อุปกรณตางๆ ความคุมคาคุมราคา รวมทั้งชื่อเสียงในดานการทองเที่ยวและบริการที่เปนมิตร การ

               ทองเที่ยวเชิงสุขภาพของไทยมีการนำศาสตรในการดูแลสุขภาพ ซึ่งเปนภูมิปญญาของไทยมาประกอบในการบริการทาง
               สุขภาพทั้งรางกายและจิตใจ ไดแก สปาสมุนไพร นวดไทย ษีดัดตน โยคะ การฟนฟูจิตใจ












                 INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP                                        สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40