Page 64 - 7.Big Data Application on Digital Marketing
P. 64

หลักการประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งออนไลน์ในอุตสาหกรรม S-curve ของประเทศไทย |
                                                                                                         |  63

                       ตัวอยางการประยุกต IoT, Big Data และ Digital Marketing ในอุตสาหกรรมเกษตรไทย

                       สรางไรออย “Big Data” ปนตนแบบเกษตร 4.0

                       “เกษตรกรรม” เปนอีกกลไกเศรษฐกิจสำคัญ ทั้งในแงของการใชพื้นที่กวา 40% ของประเทศ รวมถึงเม็ดเงินราว

               10% ของ GDP แตกลับมีการใชเทคโนโลยีนอย เหตุจากความไมมั่นใจและไมคุนเคยการสราง “ตนแบบ” จึงเปนแนวทางที่
               สวทช. (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กลุมมิตรผล และ  IBM ตั้งเปาวิจัยในการเพิ่มผลผลิตออย โดยใช
               AI IOT และ data analytics

                       “ดร.ชัย วุฒิวิวัฒนชัย” ผูอำนวยการศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC สวทช.

               เปดเผยวา เกษตรกรไทยไมถึง 10% ที่ใชเทคโนโลยี ยิ่ง “data” ยิ่งใชนอย “ความรวมมือครั้งนี้มีโอกาสสูงจะพัฒนาตนแบบ
               สมารทฟารมใหเกษตรกรเปดใจ เพราะมิตรผลเปนรายใหญ มีขอมูลเยอะ สวทช.ทำงานดาน AI big data มานาน ทั้งมีขอมูล
               ระดับประเทศ ขณะที่ IBM มีขอมูลและเทคโนโลยีระดับโลก เปาหมายคือจะทำนาย จำนวนผลผลิต ความหวานของออย โรค

               พืชโรคแมลง”

                       “ปฐมา จันทรักษ” รองประธานดานการขยายธุรกิจในกลุมประเทศอินโดจีน และกรรมการผูจัดการใหญ IBM
               ประเทศไทย กลาววา ไทยเปนประเทศแรกในเอเชีย-แปซิฟก ที่ใช IBM Watson กับเกษตร เนื่องจากไทยเปนประเทศ
               เกษตรกรรมและเปนครัวของโลก เปาหมายจึงเปนการนำขอมูลเชิงลึกมาเปนเครื่องมือ พลิกโฉมสูกาวใหมสมารทฟารมเมอร


                       ปจจุบันนักวิจัย IBM กำลังพัฒนา “agronomic insights assistant” โดยใชแพลตฟอรม IBM Watson สำหรับ
               การเกษตร รวมกับ IBM PAIRS Geoscope ผสานขอมูลความสัมพันธเชิงเวลาและพื้นที่ รวมกับขอมูลทางการเกษตร โดยใช
               โมเดลการพยากรณที่แมนยำจาก The Weather Company กลั่นกรองเปนขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับความชื้นของดิน ภาวะการ
               ขาดน้ำและอาหารที่สงผลตอการเติบโตของออย ความเสี่ยงของโรคและศัตรูพืช ปริมาณผลผลิตและดัชนีคุณภาพความหวาน

               ของออย

                       เมื่อโครงการเสร็จสมบูรณ เกษตรกรจะเขาถึงขอมูลเชิงลึกที่ชวยประเมินและจัดการความเสี่ยง วางแผนการ
               เพาะปลูกไดอยางเฉพาะเจาะจงพื้นที่ ลดการสูญเสียและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต “ขอมูลทุกอยางดูไดผานสมารทโฟน จุด
               สำเร็จคือสเกลไปใชกับพืชอื่น ๆ ได”


                       ดาน “รศ.ดร.กลาณรงค ศรีรอต” Head of Innovation and Research Development Institute กลุมมิตรผล
               ระบุวา ประเทศไทยไดเปรียบดานการเกษตร มีอุดมสมบูรณและความหลากหลายเปนอันดับ 8 ของโลก ขณะที่ “ออย” เปน
               พืชเศรษฐกิจสำคัญ ไทยเปนผูสงออกรายใหญอันดับ 2 ของโลก และมีบทบาทสำคัญในการปอนน้ำตาลสูตลาดโลก สวนแบง

               ตลาด 9.4% ในป 2560 ทั้งคาดวาป 2561-2562 จะผลิตน้ำตาลได 14.1 ลานเมตริกตัน เพิ่มขึ้น 3% จากปกอนหนา

                       บทบาทของมิตรผลคือ เปนภาคปฏิบัติ โดยใชประสบการณในอุตสาหกรรมออยและน้ำตาลกวา 63 ป จึงสามารถ
               รวบรวมขอมูลมาใหวิเคราะหได เปนการนำเทคโนโลยีมาตอยอดใหยั่งยืน โดยใชพื้นที่ทดสอบ 2,000 ไร “การวิจัยครั้งนี้ไมได
               แคชวยมิตรผล แตเปนประโยชนตอวงการเกษตรกรไทย ที่ผานมาเรามีขอมูลจำนวนมากที่ไมเคยนำมาใชเลย จึงความตองการ

               มี big data และใช AI มาชวยเพิ่มผลผลิตใหเกษตรมีรายไดยั่งยืน เมื่อโครงการสำเร็จองคความรูตาง ๆ จะถูกเผยแพรสู
               ชุมชน”







                 INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP                                        สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69