Page 69 - 7.Big Data Application on Digital Marketing
P. 69

หลักการประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งออนไลน์ในอุตสาหกรรม S-curve ของประเทศไทย |
                                                                                                         |  68

                       ในปจจุบัน ประเทศไทยสามารถใชการเปลี่ยนแปลงเหลานี้เปนโอกาสในการยกระดับอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป

               โดยสงเสริมอุตสาหกรรมยอยดังนี้
                          • สารสกัด/ผลิตภัณฑจากสารสกัด
                          • สารออกฤทธิ์

                       กลุมอุตสาหกรรมยอยเพิ่มเติม

                         • อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการเพิ่มมาตรฐานดานการตรวจสอบยอนกลับในกฎระเบียบความปลอดภัยดานอาหาร

                         • กลุมอุตสาหกรรมวิจัยและผลิตโภชนาการเพื่อสุขภาพ
                               - อาหารที่มีการเติมสารอาหาร
                               - ผลิตอาหารไทยไขมันต่ำ พลังงานต่ำ และน้ำตาลต่ำ

                               - ผลิตสารออกฤทธิ์ และสารสกัดจากวัตถุดิบทางธรรมชาติ
                               - อาหารทางการแพทย และอาหารเสริม
                         • อุตสาหกรรมผลิตภัณฑอาหารแปรรูปที่ใชโปรตีนจากแหลงทางเลือก เชน โปรตีนเกษตร


















                                            รูปที่ 5.2  อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร

                                                  [ที่มา. กระทรวงอุตสาหกรรม]
                       “อุตสาหกรรมอาหาร” เปนการนำผลผลิตจากภาคเกษตร ไดแก ผลผลิตจากพืช ปศุสัตวและประมง มาใชเปน

               วัตถุดิบหลักในการผลิต โดยอาศัยเทคโนโลยีตาง ๆ ในกระบวนการผลิตเพื่อใหไดผลิตภัณฑที่สะดวกตอการบริโภค หรือการ
               นำไปใชในขั้นตอไป และเปนการยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตจากพืช ปศุสัตว และประมง โดยผานกระบวนการแปรรูปขั้นตน
               หรือขั้นกลางเปนสินคากึ่งสำเร็จรูป หรือขั้นปลายที่เปนผลิตภัณฑสำเร็จรูป


                       กลุมอุตสาหกรรมที่อยูในอุตสาหกรรมกรรมอาหารเพื่ออนาคต ไดแก กลุมอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป (Processed
               Food Industry ที่มีอยูใน  ISIC Rev. 4 หมวด C การผลิต C100000 การผลิตผลิตภัณฑอาหาร (Manufacture of food
               products หมวดยอย  C101000 การแปรรูปและถนอมเนื้อสัตว (Processing and preserving of meat ถึง  C107000

                       แนวโนมของสภาวะอุตสาหกรรมอาหารระดับโลกในป 2560 พบวา ผูบริโภคจะใหความนิยมอาหารเพื่อสุขภาพใน

               รูปแบบเฉพาะเจาะลงมากขึ้น เชน ผานกระบวนการแปรรูปนอย ลดโปรตีนจากเนื้อสัตว จะบริโภคโปรตีนจากพืชมากขึ้น ลด
               ไขมันในอาหาร การใหความสำคัญกับสิ่งแวดลอมมากขึ้น การลดของเสียในการผลิตอาหาร และของเหลือจากการบริโภค
               อาหารอาเซียน นอกจากนี้ผูบริโภคทุกชวงอายุเริ่มหันมาใหความสำคัญกับอาหารเพื่อสุขภาพ เพื่อลดคาใชจายดานสาธารณสุข
               ในอนาคตและอาหารยุคใหมตองมีบรรจุภัณฑที่สวยงาม ใชงานสะดวกและมีขนาดเล็กลงเหมาะสมกับการรับประทานเพียงมื้อ

               เดียวดานชองทางการจัดจำหนายผูบริโภคใหความสำคัญกับขอมูลทางออนไลน รวมถึงสนใจสั่งซื้อสินคาทางออนไลนมากขึ้น


                 INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP                                        สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74