Page 85 - 7.Big Data Application on Digital Marketing
P. 85

หลักการประยุกต์ใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ด้านดิจิทัลมาร์เก็ตติ้งออนไลน์ในอุตสาหกรรม S-curve ของประเทศไทย |
                                                                                                         |  84

               การโฆษณาผานชองทางอื่น ไมวารานอาหารขนาดเล็ก รานอาหารเปดใหม แมแตรานอาหารชื่อดังก็เขารวมได เพิ่มยอดขาย

               มากขึ้น สื่อสารกับลูกคาไดโดยตรง มีการชำระเงินออนไลน บางแอปฯมีการรีวิวจากลูกคา ชวยใหงายตอการตัดสินใจมากขึ้น
                       แนนอนวาการตลาดออนไลนเขามามีบทบาทมากขึ้นสำหรับรานอาหาร ชวยตอบโจทยไลฟสไตลของกลุมผูบริโภคได

               มากขึ้น ไมวาจะอยูสวนใดของประเทศก็ไมเปนอุปสรรคสำหรับนักชิมอีกตอไป ควรเลือกใชชองทางใหเหมาะกับธุรกิจของ
               ตนเอง แมการตลาดที่ดีจะชวยดึงดูดผูคนใหเขามาเปนจำนวนมากในชวงแรก แตสิ่งสำคัญที่ครองใจลูกคาไดคือ เรื่องของ

               รสชาติอาหาร คุณภาพที่มอบใหแกลูกคา และการใสใจบริการ สิ่งเหลานี้จะทำใหธุรกิจรานอาหารเติบโตไดอยางมี
               ประสิทธิภาพ ตอเนื่องและมั่นคง


                 5.5 สรุปบท

                       จากขอมูลดังกลาวจะพบวา อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ เปน 1 ใน 10 อุตสาหกรรมที่มี

               ความสำคัญและ ไดรับการมุงเนนจากภาครัฐในการพัฒนาตามยุทธศาสตรขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่อยกระดับประเทศเขาสูยุค
               ไทยแลนด 4.0 โดยเปนอุตสาหกรรมที่มีบริบทครอบคลุมทั้งระดับมหภาคและจุลภาค ตั้งแตการประยุกต เทคโนโลยีที่ใชใน
               ระบบชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หรือการดัดแปลงเซลลที่ไมใชตนกำเนิด ดวยการสราง ปรับเปลี่ยน แกไขผลิตผลหรือกระบวนการใน

               ภาพรวม ไปจนถึงการมุงเนนเทคนิคเชิงพันธุวิศวกรรม ชีวโมเลกุล และ กระบวนการพัฒนาเทคโนโลยีที่เฉพาะเจาะจง เพื่อใช
               กับการผลิตเพาะพันธุพืชผลทางการเกษตรและ/หรือ สินคาบริการที่เกี่ยวของ

                       การนำ Big Data, IoT, Digital Marketing มีตัวอยางอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพที่เกี่ยวของกับ
               การเกษตร ไดแก การผลิตสารสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติ สารออกฤทธิ์ การปรับปรุงพันธุพืช พันธสัตว เกษตรอัจฉริยะ (Smart

               Farming / เกษตรแบบแมนยำสูง ( Precision Farming การเพาะพันธสัตว / โรคสัตว ผลิตภัณฑยางและการแปรรูปยาง
               สูตรอาหารสัตว ผลิตภัณฑอาหารเสริมจากสมุนไพร เทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวพืช การจัดการและสรางมูลคาเพิ่มสำหรับของ
               เหลือทิ้งจากการเกษตรและอุตสาหกรรม มาตรฐานสมุนไพรและผลิตภัณฑจากธรรมชาติ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การตัดตอ

               พันธุกรรมพืช เทคโนโลยีการผลิตและเก็บเกี่ยว เทคโนโลยีการหมักและเอนไซม Plant Factory การออกแบบและพัฒนา
               เครื่องจักรทางการเกษตร Plastic Recycle การผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดีที่จำเปนตอฮอรโมน ABA และการประยุกตใช
               ทางการเกษตร การควบคุมการเจริญเติบโตของพืชเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ฯลฯ

                       นอกจากนั้น ขอมูลขนาดใหญเหลานี้สามารถนำมาวิเคราะหเชิงลึกเพื่อทำนาย “insights” หรือ “ความตองการ

               เบื้องลึก” ซึ่งเปนรูปแบบพฤติกรรมของผูบริโภคหรือลูกคา จากนั้น นำผลการวิเคราะหรูปแบบพฤติกรรมผูบริโภคที่ไดมา
               ออกแบบสินคาและบริการ รวมทั้งการจัดโปรโมชันทางการตลาดผานดิจิทัลมารเก็ตติ้งเพื่อจะนำเสนอสินคาหรือบริการที่
               ตอบสนองตอความตองการของลูกคาเปนรายบุคคลได นับเปนการใชประโยชนจาก Big Data, IoT และ Digital Marketing ที่

               สามารถสรางโอกาสสำหรับเศรษฐกิจของประเทศไทยได



















                 INTRODUCTION TO IOT ANALYTICS USING HADOOP                                        สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุนยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
   80   81   82   83   84   85   86   87   88