Page 2210 - บทคดยอการทดลองสนสด 58 สมบรณ_Neat
P. 2210

พบว่า การสับกลบซากถั่วเขียวร่วมกับการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนส่งผลให้มีปริมาณอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็น
                       ประโยชน์ และโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์เพิ่มขึ้น 14.20  6.38 และ 12.10 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ

                       เมื่อเทียบกับการไม่ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน ขณะที่การสับกลบซากข้าวโพดหวานที่มีการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน ส่งผลให้
                       ปริมาณอินทรียวัตถุ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์เพิ่มขึ้น 13.10  4.42

                       และ 8.20 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ เมื่อเทียบกับการไม่ใส่ปุ๋ยไนโตรเจน จะเห็นได้ว่า ระบบการปลูกพืช

                       หมุนเวียน ข้าว - ถั่วเขียว ข้าวโพดหวาน - ข้าว โดยมีการสับกลบซากกลับคืนสู่ดิน ส่งผลให้ผลผลิตของพืช
                       ที่ปลูกตามเพิ่มขึ้น ทำให้ลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี และเป็นการรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน สำหรับ

                       การทดลองนี้อยู่ระหว่างการวิเคราะห์ผลการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวในฤดูที่ 3 และจำเป็นต้องใช้
                                     15
                                              13
                       ผลการวิเคราะห์  N และ  C ตัวอย่างดิน พืช และปุ๋ยจากทั้ง 3 ฤดู โดยตัวอย่างทั้งหมดจะถูกส่งไป
                       วิเคราะห์ที่ห้องปฏิบัติการของ IAEA กรุงเวียนนา

                       6. การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
                               ขยายผลสู่กลุ่มเป้าหมาย





























































                                                           2143
   2205   2206   2207   2208   2209   2210   2211   2212   2213   2214   2215