Page 26 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 26

17


                       การพูดที่ดี อาจแบงไดเปน 3 ลักษณะคือ
                       1.  การพูดแบบเปนทางการ  เปนการพูดที่ผูพูดจะตองระมัดระวังในเรื่องของรูปแบบ  วิธีการ

               ความถูกตองเหมาะสมของการใชถอยคํา การพูดลักษณะนี้จะใชในโอกาสที่เปนพิธีการ มีรูปแบบวิธีการ

               และขั้นตอนในการพูดเปนการพูดในที่ประชุมที่มีระเบียบวาระ การกล่าวตอนรับ  การกลาวตอบ
               การกลาวอวยพร การกลาวใหโอวาท การแสดงปาฐกถา เปนตน

                       2.  การพูดแบบกึ่งทางการ  เปนการพูดที่ผูพูดตองพิถีพิถันในการใชถอยคํานอยลง
               กวาลักษณะการพูดแบบเปนทางการ จะใชในการสนทนาพูดคุยกันระหวางผูที่ยังไมคุนเคยสนิทสนมกัน

               มากนัก หรือในกลุมของบุคคลตางเพศ ตางวัยกัน การพูดในที่ชุมชนก็จะมีการใชการพูดในลักษณะนี้ดวย

               เชน การแนะนําบุคคลในที่ประชุม การพูดอภิปราย การแนะนําวิทยากรบุคคลสําคัญเหลานี้ เปนตน
                       3.  การพูดแบบไมเปนทางการ เปนการพูดที่ใชสื่อสารกับผูที่เราสนิทสนมคุนเคยกันมาก ๆ  เชน

               การพูดคุยกันของสมาชิกในครอบครัว การพูดกันในกลุมของเพื่อนสนิท หรือพูดกับกลุมคนที่เปนกันเอง

               การพูดในลักษณะนี้จะใชกันมากในชีวิตประจําวัน


               เรื่องที่ 3  การพูดในโอกาสตาง ๆ


                       การพูดระหวางบุคคล

                       การพูดระหวางบุคคลเปนการพูดที่ไมเปนทางการ ทั้งผูพูดและผูฟงมักไมไดมีการเตรียมตัวลวงหนา

               ไมมีการกําหนดเวลาและสถานที่ไมมีขอบเขตเนื้อหาแนนอน ซึ่งเปนการพูดที่ใชมากที่สุด ผูเรียนจะตอง

               ฝกฝนและใชไดทันทีเมื่อจําเปนตองใช การพูดระหวางบุคคลพอจะแยกได ดังนี้
                       การพูดทักทายปราศรัย  ตามปกติคนไทยเราเปนคนมีน้ําใจชอบชวยเหลือเกื้อกูลผู้อื นอยูเสมอ

               หนาตายิ้มแยมแจมใส รูจักโอภาปราศรัย เมื่อพบใครจะเปนคนที่รูจักกันมากอนหรือคนแปลกหนาก็จะ

               ทักทายดวยการยิ้มหรือใชอวัจนภาษา คือ กิริยาอาการทักทายกอน ซึ่งเปนเอกลักษณของคนไทยที่ควร
               รักษาไว เพราะเปนที่ประทับใจของผูพบเห็นทั้งคนไทยดวยกันและชาวตางประเทศ

                       การทักทายปราศรัยควรปฏิบัติ ดังนี้

                       1.  ยิ้มแยมแจมใสความรูสึกยินดีที่ไดพบกับผูที่เราทักทาย
                       2.  กลาวคําทักทายตามวัฒนธรรมไทย หรือตามธรรมเนียมนิยม อันเปนที่ยอมรับกันในสังคม เชน

               กลาว “สวัสดีครับ”... “สวัสดีคะ”

                       3.  แสดงกิริยาอาการประกอบคําทักทายหรือปฏิสันถาร เชน การยิ้มและคอมศีรษะเล็กนอย
               การจับมือ จับแขนหรือตบไหลเบา ๆ ซึ่งเปนวัฒนธรรมตะวันตกพอที่จะทําไดถาเปนคนรูจักสนิทสนมกันดี

                       4.  กลาวขอความประกอบการทักทายที่เหมาะสมและทําใหเกิดความสบายใจดวยกันทั้งสองฝาย เชน
                         สวัสดีคะ      คุณรัตน       สบายดีหรือคะ

                         สวัสดีครับ     คุณกิ่งกมล     วันนี้แตงตัวสวยจังเลย

                         สวัสดีคะ      คุณพีรพล       ไมไดพบกันเสียนาน ลูก ๆ สบายดีหรือคะ
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31