Page 31 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 31

22


                       4.  พูดเรื่องทั่ว ๆ ไป อาจจะเปนขาวดัง เหตุการณลมฟาอากาศ เมื่อสังเกตไดวาผูสนทนาชอบเรื่อง
               ประเภทใด  ก็จะไดสนทนาเรื่องนั้นตอไป หากเห็นวาคูสนทนาไมชอบเรื่องใดก็จะไดเปลี่ยนเรื่อง

                       5.  เมื่อเห็นวามีความคุนเคยมากแลว ก็สามารถใชหลักของการสนทนากับบุคคลที่รูจักคุนเคยมาใช
               กับบุคคลดังกลาว



               กิจกรรมที่  2
                       1.  ใหผูเรียนแบงกลุม เพื่อฝกการสนทนาในวันพบกลุม  โดยใหแบงกลุม ๆ ละ 5 – 6 คน แยกเปน

               ผูสนทนา 3 - 4 คน  และเปนผูสังเกตการณ 2 คน ในขณะกลุมสนทนา ใหผูสังเกตการณบันทึกรายละเอียด

               ของการสนทนาของกลุมในหัวขอตอไปนี้
                         1.1  หัวขอเรื่องที่สนทนา  มีเรื่องอะไรบาง  เรื่องเดียวหรือหลายเรื่อง  และใหวิเคราะหถึง

               ประโยชนของเรื่องนั้น ๆ

                         1.2  ขณะที่คนหนึ่งพูด  คนอื่น ๆ  ฟงหรือไมหรือมีพฤติกรรมอยางไร  ใหแตละกลุมแสดง
               ความคิดเห็นเชิงวิจารณผูพูดและผูฟง เชน บุคคลใดในกลุมที่พูดมากที่สุดและบุคคลใดพูดนอยที่สุด พูดตรง

               ประเด็นหรือไม การใชภาษา อารมณของคูสนทนาหรือผูฟง พฤติกรรมหรือคําพูดใดที่ไมเหมาะสม

                       2.  เมื่อเสร็จสิ้นการสนทนาแลวใหผูสังเกตการณเสนอขอมูลรายละเอียดตอกลุม แลวใหชวยกัน

               เขียนบทสนทนาตามรายละเอียดที่กลุมไดสนทนาไปแลว พรอมขอสังเกตผูอื่นใหครูประจํากลุมตรวจและ
               ใหคําแนะนํา


                       การสัมภาษณ



                       การสัมภาษณมีอยูหลายลักษณะหลายระดับแตในระดับนี้จะขอกลาวเฉพาะสวนที่จําเปน
               ซึ่งผูเรียนจะตองนําไปใชเทานั้น


                       ก.  ผูสัมภาษณ ควรมีการเตรียมตัวและปฏิบัติ ดังนี้
                         1.  ตองมีการติดตอประสานงาน  นัดหมายกับผูใหสัมภาษณไวลวงหนา  พรอมทั้งกําหนด
               วัน เวลาที่จะสัมภาษณและบอกจุดประสงคของการสัมภาษณ เพื่อผูที่ใหสัมภาษณจะไดเตรียมตัวไดถูกตอง

                         2.  เมื่อประสานงานแลว  ผูสัมภาษณ ควรเตรียมตัวตั้งแนวคําถามที่จะไปสัมภาษณไวเปน
               ประเด็น ๆ ตามวัตถุประสงคที่วางไว
                         3.  ศึกษาเรื่องที่จะสัมภาษณใหเขาใจ

                         4.  เมื่อไปพบผูใหสัมภาษณตองตั้งคําถามใหชัดเจน เขาใจงาย ใชภาษาสุภาพ
                         5.  ควรเตรียมการบันทึกภาพ เสียง และขอความ เตรียมอุปกรณเครื่องมือใหเรียบรอยกอน

               เพื่อใหการบันทึกสมบูรณไมผิดพลาด
                         6.  รักษาเวลานัดหมาย  เวลาขณะสัมภาษณใหเปนไปตามที่กําหนดนัดหมายไว อยาไดถาม
               นอกประเด็นและอยายืดเยื้อโดยไมจําเปน
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36